Page 26 - ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาห้วยแม่สิน จังหวัดแพร่ และสุโขทัยปีการผลิต 2544/45
P. 26

16




                 สดเฉลี่ยไรละ  5,283.17  บาท  ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  4,323.25  บาท  และ

                 ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  3,703.39  บาท  สําหรับการที่จะนําขอมูลไปใชประกอบในการ

                 ตัดสินใจวางแผนในการสงเสริมใหเกษตรกรทําการเพาะปลูก   เราอาจพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนผัน

                 แปรที่เปนเงินสดรวมดวย  กลาวคือเกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวานป 5  มีผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร
                 เงินสดเฉลี่ยไรละ  5,286.74  บาท  (ตารางที่  25)


                         เกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวาน  พันธุพื้นเมือง  ป 5 ในหนวยที่ดินที่  47.1D เกษตรกรทุกคนประสบปญหาปจจัยการ

                 ผลิตมีราคาสูง  รองลงมารอยละ 80.00 ศัตรูพืชรบกวน  รอยละ 60.00 ปญหาโรคผลรวง  ที่เหลือจะเปนปญหาขาดแคลนน้ํา
                 เพื่อการเกษตร ขาดเงินทุน  แรงงานสภาพดินเสื่อมโทรม  การขนสงผลผลิตไมสะดวกและโรคผลเนา   คิดเปนรอยละ  20.00

                 เทากัน
                              เกษตรกรทุกคนตองการใหรัฐบาลชวยเหลือในดานจัดหาปจจัยการผลิตในราคายุติธรรม  รองลงมารอยละ 80.00
                 ตองการใหชวยเหลือดานราคาผลผลิต  รอยละ 60.00 จัดสรางแหลงน้ําเพื่อการเกษตรและสงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการใชสารเคมีตาง

                 ๆ ที่เหลือรอยละ 20.00 ใหสงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการปรับปรุงบํารุงดินและ เกี่ยวกับการอนุรักษดินและน้ํา  (ตารางที่ 43.2)


                         สมเขียวหวาน   เกษตรกรปลูกสมเขียวหวาน   ป  6   พันธุสงเสริม   เก็บผลผลิตไดตั้งแตเดือน
                 พฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม   ขายผลผลิตใหกับพอคาในทองถิ่นและพอคานอกทองถิ่น   จากการสํารวจการ

                 ผลิตสมเขียวหวาน  ป 6  ไดรับผลผลิตเฉลี่ยไรละ  1,440.42  กิโลกรัม  ราคากิโลกรัมละ  9.37  บาท  มูลคาผล

                 ผลิตไรละ  13,499.17  บาท  เกษตรกรมีคาใชจายเปนตนทุนเงินสดทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  2,702.76  บาท  ตน

                 ทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยไรละ   5,166.66   บาท   และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ   5,839.87  บาท  ดังนั้น
                 เกษตรกรจะไดรับผลตอบแทนที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ  10,796.41  บาท  ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้ง

                 หมด  เฉลี่ยไรละ  8,332.51  บาท  และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  7,659.30  บาท

                 สําหรับการที่จะนําขอมูลไปใชประกอบในการตัดสินใจวางแผนในการสงเสริมใหเกษตรกรทําการเพาะ

                 ปลูก   เราอาจพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรที่เปนเงินสดรวมดวย   กลาวคือเกษตรกรผูปลูก

                 สมเขียวหวานป 6 มีผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเงินสดเฉลี่ยไรละ  10,801.41  บาท  (ตารางที่  26)

                         เกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวาน  พันธุพื้นเมือง  ป 6 ในหนวยที่ดินที่  47.1D เกษตรกรรอยละ 100.00  ประสบปญหา

                 ปจจัยการผลิตมีราคาสูง  รอยละ 80.00 ศัตรูพืชรบกวนและราคาผลผลิตตกต่ํา  รอยละ 60.00 สภาพดินเสื่อมโทรม และโรคผลเนา
                 ผลรวง รอยละ 20.00 ขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร ขาดเงินทุน ขาดแรงงานและการขนสงผลผลิตไมสะดวก

                              เกษตรกรทั้งหมดตองการใหรัฐบาลเขามาชวยเหลือ  โดยรอยละ  100.00  ตองการใหชวยเหลือในดานจัด
                 หาปจจัยการผลิตในราคายุติธรรม รอยละ 60.00 ประกันราคาผลผลิต รอยละ 40.00 จัดหาตลาดรับซื้อผลผลิตและสงเสริม

                 แนะนําเกี่ยวกับการใชสารเคมีตาง ๆ  ที่เหลือเพียงรอยละ  20.00  จัดสรางแหลงน้ําเพื่อการเกษตร   และสงเสริมแนะนําเกี่ยวกับ
                 การปรับปรุงบํารุงดิน  (ตารางที่ 43.2)
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31