Page 31 - ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาห้วยแม่สิน จังหวัดแพร่ และสุโขทัยปีการผลิต 2544/45
P. 31

21




                 แปรทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  7,020.56  บาท  และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  7,843.67  บาท  ดังนั้นเกษตรกรจะได

                 รับผลตอบแทนที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ  14,763.75  บาท  ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ

                 12,557.22  บาท  และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  11,734.11  บาท  สําหรับการที่จะนําขอ

                 มูลไปใชประกอบในการตัดสินใจวางแผนในการสงเสริมใหเกษตรกรทําการเพาะปลูก   เราอาจพิจารณาถึงผล
                 ตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรที่เปนเงินสดรวมดวย  กลาวคือเกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวานป 14  มีผลตอบ

                 แทนเหนือตนทุนผันแปรเงินสดเฉลี่ยไรละ  14,768.75  บาท  (ตารางที่  34)


                         เกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวาน พันธุพื้นเมือง ป 14 ในหนวยที่ดินที่  47.1D เกษตรกรรอยละ 100.00  ประสบปญหา

                 ปจจัยการผลิตมีราคาสูงและศัตรูพืชรบกวน   รองลงมาคือปญหาราคาผลผลิตตกต่ํารอยละ   80.00   ที่เหลือรอยละ   20.00
                 ขาดแคลนแหลงน้ําเพื่อการเกษตรและสภาพดินเสื่อมโทรม

                              เกษตรกรตองการใหรัฐบาลชวยเหลือในดานจัดหาปจจัยการผลิตในราคายุติธรรมทุกคน   รองลงมาตองการให
                 สงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการใชสารเคมีตาง ๆ และเกี่ยวกับการปรับปรุงบํารุงดินรอยละ 60.00  เทากัน  รอยละ 40.00  จัดสราง
                 แหลงน้ําเพื่อการเกษตร  จัดหาตลาดรับซื้อผลผลิตและประกันราคาผลผลิต  ที่เหลือรอยละ  20.00  สงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการ

                 อนุรักษดินและน้ํา  และเกี่ยวกับการปลูกพืช  (ตารางที่ 43.3)


                         สมเขียวหวาน   เกษตรกรปลูกสมเขียวหวาน   ป  15   พันธุสงเสริม   เก็บผลผลิตไดตั้งแตเดือน
                 พฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม  ขายผลผลิตใหกับพอคานอกทองถิ่น  จากการสํารวจการผลิตสมเขียวหวาน  ป 15

                 ไดผลผลิตไรละ  2,230.56  กิโลกรัม  ราคากิโลกรัมละ  8.65  บาท  มูลคาผลผลิตไรละ  19,288.89   บาท

                 เกษตรกรมีคาใชจายเปนตนทุนเงินสดทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  4,961.03  บาท  ตนทุนผันแปรทั้งหมดเฉลี่ยไรละ

                 7,351.60  บาท  และตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  8,174.71  บาท  ดังนั้นเกษตรกรจะไดรับผลตอบแทนที่เปนเงิน
                 สดเฉลี่ยไรละ  14,327.86  บาท  ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  11,937.29  บาท

                 และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด  เฉลี่ยไรละ  11,114.18  บาท  สําหรับการที่จะนําขอมูลไปใชประกอบ

                 ในการตัดสินใจวางแผนในการสงเสริมใหเกษตรกรทําการเพาะปลูก  เราอาจพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุน

                 ผันแปรที่เปนเงินสดรวมดวย  กลาวคือเกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวานป 15 มีผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร

                 เงินสดเฉลี่ยไรละ  14,332.86  บาท  (ตารางที่  35)

                         เกษตรกรผูปลูกสมเขียวหวาน พันธุพื้นเมือง ป 15 ในหนวยที่ดินที่  47.1D เกษตรกรทั้งหมดประสบปญหาปจจัย

                 การผลิตมีราคาสูง  และศัตรูพืชรบกวน  รองลงมารอยละ 80.00 ราคาผลผลิตตกต่ํา  รอยละ  20.00   ขาดแคลนน้ําเพื่อการ

                 เกษตรและสภาพดินเสื่อมโทรม
                              เกษตรกรทุกคนตองการใหรัฐบาลชวยเหลือในดานจัดหาปจจัยการผลิตในราคายุติธรรม   รองลงมารอยละ
                 60.00  ตองการใหสงเสริมแนะนําเกี่ยวกับการใชสารเคมีตาง ๆ  และเกี่ยวกับการปรับปรุงบํารุงดิน  รอยละ  40.00  จัดสราง

                 แหลงน้ําเพื่อการเกษตร  จัดหาตลาดรับซื้อผลผลิตและประกันราคาผลผลิต  ที่เหลือรอยละ  20.00  ใหสงเสริมแนะนําเกี่ยว
                 กับการอนุรักษดินและน้ํา  และเกี่ยวกับการปลูกพืช  (ตารางที่ 43.4)
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36