Page 19 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2548
P. 19

6


                   ตารางที่ 1 – 1  (ตอ)




                   PATH / ROW        วันที่บันทึกขอมูล                พื้นที่ดําเนินการ (จังหวัด)

                       131-46       6 ม.ค.48,23 ก.พ.48  -  เชียงใหม, เชียงราย, แมฮองสอน

                       131-47           6  ม.ค. 48       -  เชียงใหม, ลําปาง, แมฮองสอน

                       131-48       6 ม.ค.48,23 ก.พ.48  -  ตาก, ลําปาง, เชียงใหม, แมฮองสอน

                   รวมขอมูลจากดาวเทียม 37 ภาพ ครอบคลุมพื้นที่ 37 จังหวัด


                         4. การสรางฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร ( GIS database )

                         เปนการจัดทําขอมูลทั้งเชิงพื้นที่ ( Spatial data )  และขอมูลเชิงคุณลักษณะ ( Attribute data )
                  ของขอมูลจากภาคสนาม   และขอมูลแผนที่จากสวนที่เกี่ยวของ   โดยการนําเขาในระบบสารสนเทศดวย

                  โปรแกรม ArcView 3.2a  และโปรแกรม Excel  ดังนี้

                                4.1  การสรางฐานขอมูลเชิงพื้นที่ ( Spatial data )  เปนการนําเขาขอมูลในรูปแผนที่เพื่อใช

                  วิเคราะหและประมวลผลเชิงพื้นที่  ไดแก

                                - แผนที่แสดงพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน   ไดจากการวิเคราะหขอมูลจากดาวเทียม
                  Landsat - 5  ( TM )

                                -   แผนที่การใชที่ดินระดับจังหวัด   สํารวจป  พ.ศ. 2543 - 2545   จากฐานขอมูล

                  กรมพัฒนาที่ดิน
                                -  แผนที่แสดงเขตการปกครองระดับตําบล  จากกรมการปกครอง

                                -  แผนที่เสนทางคมนาคม

                                -  พิกัดจุดตรวจสอบขอมูลตามแบบสอบถามที่ไดจากการสํารวจและรวบรวมภาคสนาม

                                4.2   การสรางฐานขอมูลเชิงคุณลักษณะ ( Attribute data )   เปนการนําเขาขอมูลดาน

                  คุณลักษณะของแผนที่และขอมูลที่เกี่ยวของกับเชิงพื้นที่   เพื่อทําใหทราบถึงความสัมพันธระหวางขอมูลทั้ง
                  2  ประเภท  เพื่อใชในการวิเคราะหและประมวลผลในระบบสารสนเทศตอไป


                         5.  การเตรียมขอมูลดาวเทียม    เพื่อหาพื้นที่ที่มีการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนในปจจุบัน


                         เนื่องจากชวงเวลาการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนของประเทศไทยไมพรอมกันทั้งประเทศ  จึงตอง
                  สั่งซื้อขอมูลดาวเทียมในพื้นที่ที่มีการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวเปนระยะๆ   ใหสอดคลองกับชวงการปลูก

                  ขาวโพดเลี้ยงสัตวของเกษตรกร

                                มีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24