Page 14 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2548
P. 14
การใชเทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
เพื่อประเมินผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน ปการผลิต 2548
คํานํา
ขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนเปนพืชเศรษฐกิจหลักที่มีความสําคัญตออุตสาหกรรมอาหารสัตวของ
ประเทศ เนื่องจากใชเปนวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว ซึ่งมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ดังนั้นจึง
ตองมีการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทั้งดานปริมาณและคุณภาพของขาวโพดเลี้ยงสัตว
ในปจจุบันพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวโดยรวมทั้งประเทศมีแนวโนมลดลง ทําใหไมเพียงพอตอความ
ตองการใชภายในประเทศและมีปริมาณไมแนนอนเนื่องจากการผลิตขึ้นกับดินฟาอากาศ ทําใหมีความเสี่ยง
ตอความเสียหายที่เกิดจากความแหงแลงมาก และพื้นที่ปลูกตองแขงขันกับพืชเศรษฐกิจอื่นที่ให
ผลตอบแทนที่ดีกวา ดังนั้นเกษตรกรบางสวนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบดังกลาวจึงลดพื้นที่ปลูก
ขาวโพดเลี้ยงสัตว หรือปรับเปลี่ยนพื้นที่ไปปลูกพืชชนิดอื่นแทน เชน เกษตรกรในภาคเหนือตอนบน ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือในเกือบทุกจังหวัด เปลี่ยนพื้นที่บางสวนไปปลูกยางพารา เนื่องจากราคาจูงใจ และยัง
ไดรับการสงเสริมจากภาครัฐ เชน เชียงราย พะเยา แพร เลย อุบลราชธานี ศรีสะเกษ และหนองบัวลําภู เปน
ตน ซึ่งปญหาเหลานี้รัฐบาลพยายามแกไขแตมักไมทันกับเหตุการณ ซึ่งเปนลักษณะของการแกไขปญหา
เฉพาะหนา ถารัฐบาลมีขอมูลการคาดคะเนผลผลิตลวงหนาที่มีความถูกตองแมนยําและทันเวลา จะทํา
ใหรัฐบาลสามารถบริหารการจัดการปญหาเหลานี้ไดอยางสัมฤทธิ์ผล การใชเทคนิครีโมทเซนซิ่งและ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อวิเคราะหพื้นที่ปลูกและประเมินผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว ในปการผลิต
2548 เปนการดําเนินการ โดยการวิเคราะหขอมูลจากดาวเทียม Landsat - 5 ( TM ) ที่บันทึกระหวาง
เดือนธันวาคม 2546 ถึงเดือน เมษายน 2548 ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวของประเทศ
ดังนั้นผลของการดําเนินการครั้งนี้ เปนการนําเสนอขอมูลทั้งพื้นที่ปลูก และผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว
ครอบคลุม 37 จังหวัด ในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก
ผลของการดําเนินงาน สามารถนําไปใชในการกําหนดแนวทางการบริหารการจัดการดานการตลาดได
ระดับหนึ่ง
วัตถุประสงค
1) เพื่อสํารวจและวิเคราะหพื้นที่ปลูก และประเมินผลผลิตของขาวโพดเลี้ยงสัตว เปนรายตําบล
ในปการผลิต 2548
2) เพื่อจัดทําฐานขอมูลดานการผลิตและแหลงรับซื้อ
3) เพื่อจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกและผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวเปนรายตําบล