Page 20 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2548
P. 20

7

                                5.1   การแกไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต ( Geometric Correction )   เนื่องจาก

                  ขอมูลดาวเทียมที่ไดมา   ยังมีความคลาดเคลื่อนในเชิงตําแหนงทางภูมิศาสตร   จึงตองดําเนินการแกไข
                  ตําแหนงใหถูกตองเพื่อใหสามารถซอนทับกับขอมูล (  แผนที่ )  อื่นๆ  ได   โดยใชแผนที่ภูมิประเทศ

                  มาตราสวน 1 : 50000   จากกรมแผนที่ทหารเปนแผนที่อางอิง   ทั้งนี้โดยใชโปรแกรมประยุกต PCI

                  ( EASI/PACE )  ในการดําเนินการ

                                     5.2    การผลิตภาพขอมูลดาวเทียม  ภาพที่ใชเปนภาพผสมสีเท็จสามชวงคลื่น  ทําการ

                  ผสมสีดังนี้  คือ  ชวงคลื่นที่ 4  ใหผานตัวกรองแสงสีแดง ( Red filter ) ( ชวงคลื่นที่ 4  คือ  ชวงคลื่น  near
                  infrared   เปนชวงคลื่นที่พืชสีเขียวสะทอนพลังงานมากที่สุด  ดังนั้นบริเวณที่มีพืชใบเขียวอยูในภาพ

                  จะมองเห็นเปนสีแดง )  ชวงคลื่นที่ 5  ใหผานตัวกรองแสงสีเขียว ( Green filter )  ชวงคลื่นที่ 3  ใหผานตัว

                  กรองแสงสีน้ําเงิน ( Blue filter )  จะทําใหไดภาพผสมสีเท็จ 3 ชวงคลื่น  เปน  4R - 5G - 3B



                         6.  การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนจากขอมูลดาวเทียม   โดยพิจารณาจาก

                  องคประกอบของขอมูล  คือ  สี ( tone )  ความละเอียด ( texture )  รูปแบบหรือการเรียงตัวของขอมูล

                  ( pattern )  ตําแหนง ( location )   ของขอมูล   เพื่อกําหนดขอบเขตพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน
                  ในกรณีที่บางพื้นที่มีการปลูกพืชอื่นปะปนหรือเกิดขอสงสัยตองสํารวจภาคสนาม  เพื่อหาพื้นที่ที่มีการปลูก

                  ขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนที่แทจริงเพื่อจะนํามาคํานวณหาผลผลิตไดแมนยํายิ่งขึ้นโดยใชโปรแกรม  Arcview

                  3.2a  ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

                                6.1   การซอนทับแผนที่การใชที่ดินบนภาพดาวเทียม   เพื่อกันพื้นที่ขาวโพดเลี้ยงสัตวออก

                  จากพื้นที่อื่นๆ   เนื่องจากในขณะที่เกษตรกรทําขาวโพดเลี้ยงสัตวอยูนั้นบริเวณใกลเคียง   ยังมีพืชชนิดอื่นๆ
                  เจริญเติบโตอยู  เชน  ออย  มันสําปะหลัง ฯลฯ  ซึ่งจะทําใหการวิเคราะหขอมูลภาพเกิดความสับสน  และ

                  เปนการเสียเวลาในการแยกแยะพื้นที่ดังกลาวออกจากพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

                                6.2  การซอนทับจุดสํารวจบนภาพดาวเทียม          บางพื้นที่จะมีการปลูกพืชชนิดอื่นที่ไมใช

                  ขาวโพดเลี้ยงสัตว  เชน  หญา  ถั่วตางๆ  พืชผัก ฯลฯ  และพืชเหลานี้จะมีคาการสะทอนพลังงานใกลเคียง
                  กับขาวโพดเลี้ยงสัตว  จึงตองอาศัยจุดอางอิงที่ไดจากการรวบรวมขอมูลในภาคสนาม  เพื่อแยกพื้นที่ที่เปน

                  พืชอื่นที่ไมใชขาวโพดเลี้ยงสัตวออกจากพื้นที่ปลูก

                         จากนั้นทําการวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวโดยการแปลดวยสายตา  แลวลากขอบเขต

                  ( digitize )  พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวจากหนาจอคอมพิวเตอร ( View Window )  จนครบพื้นที่ทั้งจังหวัด



                         7.  การวิเคราะหและประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

                         นําขอมูลผลผลิตเฉลี่ยรายตําบลที่ไดจากการรวบรวมขอมูลภาคสนามในแตละจังหวัด  และแผนที่

                  พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวเขาสูระบบสารสนเทศภูมิศาสตร  เพื่อวิเคราะหพื้นที่ปลูกและประเมินผลผลิต
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25