Page 21 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2548
P. 21

8

                  ขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนในพื้นที่  37  จังหวัดเปนรายตําบล  โดยวิธีซอนทับทางคณิตศาสตร ( Intersection )

                  ดวยแผนที่เขตการปกครองระดับตําบลที่นําเขาสูระบบสารสนเทศเรียบรอยแลว  ผลการวิเคราะหและ
                  ประมวลผล จะทําใหไดพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนและผลผลิตรวมเปนรายตําบลของแตละจังหวัด



                         8.  ผลการดําเนินงาน

                         8.1  การกระจายพันธุขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน
                         ผลการสํารวจและรวบรวมขอมูล   จากการสุมตัวอยางในภาคสนามของเกษตรกร   จํานวน

                  9,455   ราย  จากภาคเหนือ 5,435  ราย  หรือรอยละ 57.49  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด

                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2,417  ราย  หรือรอยละ  25.56  ภาคกลาง  1,099  ราย  หรือรอยละ  11.62

                  และภาคตะวันออก  504  ราย  หรือรอยละ  5.33  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด  ครอบคลุมเกือบ
                  ทุกพื้นที่ทุกตําบลที่มีการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน   สามารถสรุปพันธุขาวโพดเลี้ยงสัตวที่เกษตรกรนิยม

                  ปลูกมากที่สุด  ไดดังนี้

                         8.1.1  พันธุซีพี.ดีเค. 888  เกษตรกรปลูกรอยละ  37.54  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด

                  โดยนิยมปลูกมากที่ภาคเหนือ

                         8.1.2  พันธุคารกิลล 919  เกษตรกรปลูกรอยละ  15.71  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด
                  นิยมปลูกมากที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  และภาคเหนือ

                         8.1.3  พันธุบิ๊ก 717  เกษตรกรปลูกรอยละ  7.31  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด   นิยม

                  ปลูกมากที่ภาคตะวันออก  และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                         8.1.4  พันธุแปซิฟค 984  เกษตรกรปลูกรอยละ  2.31  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด นิยม

                  ปลูกมากที่ภาคกลาง และภาคเหนือ
                         8.2 ฤดูเพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน   โดยภาพรวมจะเริ่มปลูกตั้งแตหลังจากการเก็บเกี่ยว

                  ขาวนาปแลวประมาณเดือนพฤศจิกายนเปนตนไปถึงเดือนเมษายน       ทั้งนี้จะมีความแตกตางกันไปตาม

                  ภาวการณของแตละภูมิภาค
                         8.2.1  ภาคเหนือ ตอนบน เชน จังหวัดเชียงใหม เชียงราย ลําพูน นาน ลําปาง แพร และจังหวัดพะเยา

                  จะเริ่มปลูกตั้งแตตนเดือนมีนาคม –  ปลายเดือนกรกฎาคม   เก็บเกี่ยวประมาณ   ตนเดือนมิถุนายน-

                  กลางเดือนธันวาคม  สําหรับภาคเหนือตอนลาง  เชน  จังหวัดสุโขทัย พิษณุโลก  พิจิตร นครสวรรค และ

                  จังหวัดอุทัยธานี   จะเริ่มปลูกตั้งแต  ปลายเดือนมกราคม –  กลางธันวาคม  และจะเก็บเกี่ยวประมาณ

                  ปลายเดือนพฤษภาคม – ปลายเดือนมกราคม
                         8.2.2  ภาคกลาง  เชน  จังหวัดกาญจนบุรี ชัยนาท ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ และจังหวัดสุพรรณบุรี

                  เปนตน จะเริ่มปลูกตั้งแต กลางเดือนมีนาคม – เดือนกันยายน และเริ่มเก็บเกี่ยวประมาณเดือนกรกฎาคม – เดือน

                  มกราคม
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26