Page 17 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2548
P. 17

4

                                 -  แผนที่ความเหมาะสมของดินสําหรับการปลูกขาว ( จากระบบฐานขอมูลกลุมชุดดิน

                   กรมพัฒนาที่ดิน ) ป พ.ศ. 2545
                                 -  แผนที่ขอบเขตการปกครองระดับตําบล  ระดับอําเภอ  และระดับจังหวัดทั้งประเทศ

                   ( จากกรมการปกครอง ) ป พ.ศ. 2547

                                 -  ขอมูลที่เกี่ยวของกับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนระดับอําเภอ  จากกรมสงเสริมการเกษตร

                   เพื่อตรวจสอบความสอดคลองกับขอมูลของการสํารวจ  ของเจาหนาที่กรมพัฒนาที่ดิน


                         2.  การจัดหาขอมูลดาวเทียม ขอมูลที่ใชในการดําเนินการ  คือ  ขอมูลเชิงตัวเลขจากดาวเทียม

                  Landsat - 5 ระบบ TM ( Thematic Mapper )  จํานวน 37 ภาพ  ซึ่งบันทึกระหวางเดือนมกราคม 2548  ถึง

                  เดือนเมษายน 2548  จากสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (  องคการมหาชน )

                  กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  ดังรายละเอียดแสดงในตารางที่  1 - 1


                         3.  การสํารวจและรวบรวมขอมูลในภาคสนาม   เพื่อรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับการปลูก

                  ขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน  เชน  ชนิดพันธุ  ผลผลิตเฉลี่ยตอไร  ฤดูเพาะปลูกและเก็บเกี่ยว  ราคาผลผลิตที่
                  เกษตรกรขายได  และการจัดการอื่นๆ  จากเกษตรกรเปนรายตําบล  โดยเจาหนาที่ของสวนวิเคราะหสภาพ

                  การใชที่ดินที่ 2  ดําเนินการสํารวจระหวางวันที่ 1 มิถุนายน 2548  ถึง  วันที่ 31 สิงหาคม 2548  การ

                  พิจารณาพื้นที่เปาหมายในการสํารวจภาคสนาม      พิจารณาจากแผนที่พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน

                  รายตําบลป 2546/47  ของสวนวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
                         โดยมีอุปกรณสําคัญที่ใชในการสํารวจ   ไดแก   เครื่องอานพิกัดทางภูมิศาสตร GPS ( Global

                  Positioning System )  เพื่อระบุตําแหนงจุดสํารวจที่แนนอน  เข็มทิศสนาม  และกลองถายรูปบันทึกภาพ

                  เพื่อชวยในการวิเคราะหขอมูลดาวเทียมใหถูกตองมากยิ่งขึ้น   นอกจากนั้นเจาหนาที่สํารวจยังได

                  ตรวจสอบตําแหนงพื้นที่ที่มีพืชอื่นๆ  ขึ้นปกคลุมในพื้นที่ขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน   ในชวงเวลาเดียวกับการ

                  ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน เชน  หญา ถั่วตางๆ  งา ฯลฯ  เพื่อเปนตําแหนงอางอิงในการวิเคราะหขอมูล
                  ใหมีความถูกตองยิ่งขึ้น

                         การเก็บขอมูลโดยการสํารวจแบบแบงชั้นภูมิ ( Stratified Sampling )  และเก็บขอมูลอยางเปน

                  อิสระตอกัน   ลักษณะที่สนใจนํามาแบงชั้นภูมิ   ไดแก   ความเหมาะสมของดินและขอบเขตการปกครอง

                  ระดับตําบลการเก็บตัวอยางในบริเวณที่มีความเหมาะสมของดินเล็กนอยสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

                  ฤดูฝน    อยางนอย 1 - 3   ตัวอยางตอตําบล   และบริเวณที่มีความเหมาะสมของดินตอการทําขาวโพด
                  เลี้ยงสัตวฤดูฝนสูง  เก็บตัวอยาง  อยางนอย 3 - 5  ตัวอยางตอตําบล  เชนกัน  รวมตัวอยางที่ทีมสํารวจ

                  สามารถสอบถามได  คือ  ตัวอยางครอบคลุมทุกพื้นที่ทุกตําบล  ที่มีการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22