Page 96 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 96

3-19








                       ตนปในป 2548 มีการประเมินปริมาณน้ําใชการไดประมาณ 8,600 ลานลูกบาศกเมตร ซึ่งนอยกวาป 2547
                       ประมาณ 650 ลานลูกบาศกเมตร ซึ่ง ณ เวลาเดียวกันปริมาณน้ําสูงสุดประมาณ 15,300 ลานลูกบาศกเมตร

                       ในป 2546 ดังนั้นแสดงใหเห็นวาแนวโนมปริมาณน้ําในปจจุบัน เริ่มเขาสูวิกฤติการณปญหา

                       น้ําขาดแคลนในอนาคต  แตอยางไรก็ตาม ในพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยา  ยังมีแหลงน้ําใตดินที่เกษตรกร
                       สามารถนํามาชวยเสริมการเพาะปลูกพืชได  ซึ่งมีแนวโนมการสูบน้ําใตดินอยางตอเนื่อง  แตตองมี

                       ตนทุนคาสูบน้ําอยูดวยในขณะที่ราคาน้ํามันสูงขึ้นอยางตอเนื่อง  ทําใหเพิ่มตนทุนการผลิตสูงขึ้น

                       ดังนั้นในป 2548  กรมชลประทานจึงไดมีการจัดสรรน้ําโดยใหมีการระบายน้ําจากอางเก็บน้ําทั้ง 2
                       รวมประมาณ 5,500 ลานลูกบาศกเมตร เพื่อใชในโครงการพัฒนาเกษตรชลประทานพิษณุโลกและ

                       โครงการเจาพระยาใหญ  โดยกําหนดพื้นที่เปาหมายการปลูกพืชใหสอดคลองกับน้ําตนทุนไว

                       ประมาณ 361,000 ไร แตพบวาเกษตรกรเพาะปลูกเกินเปาหมายมีพื้นที่เพาะปลูกรวม 570,000 ไร
                       ทําใหน้ําไมเพียงพอทําใหตองกําหนดมาตรการแกปญหาโดยการสงน้ําแบบหมุนเวียนรวมเวลาสงน้ํา

                       14 วันตอครั้ง และงดทํานาปรังครั้งที่ 2 เพื่อเฉลี่ยการใชน้ําใหทั่วถึง ฉะนั้น จึงเห็นวาในอนาคตควร

                       มีการลดพื้นที่ทํานาปรังลงเพื่อใหสอดคลองเปนไปตามเปาหมายกําหนด  เพื่อลดความเสี่ยงตอ

                       ผลผลิตเสียหาย  และมีน้ําเพียงพอตอการปลูกพืช  สําหรับในโครงการลุมเจาพระยาใหญนั้น
                       ก็เชนเดียวกัน แมวาในปจจุบันจะสามารถทํานาปรังไดโดยผลผลิตไมเสียหายมากนัก แตแนวโนม

                       ก็จะเกิดการขาดแคลนน้ําได  โดยเฉพาะเปาหมายที่กําหนดไวสําหรับปลูกขาวนาปรังประมาณ

                       2,561,770ไร แตในป 2548 เกษตรกรปลูกขาวนาปรังประมาณ 4,233,297 ไร เพิ่มกวาเปาหมาย

                       ของแผนรอยละ 65
                                ดังนั้น  การวางแผนการปลูกขาวนาปรังในแตละป  ควรคํานึงถึงน้ําตนทุนเปนหลัก

                       เพื่อลดความเสี่ยงและสงเสริมการปลูกพืชอายุสั้นทดแทนนาปรัง โดยพิจารณาอางอิงการใชปริมาณน้ํา

                       ตนทุนและเปาหมายการปลูกพืชฤดูแลง ป 2548 เปนเกณฑใชในการกําหนดพื้นที่ โดยทําการวิเคราะห
                       และกําหนดหลักเกณฑพื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับทํานาปรังในแตละป  และลดพื้นที่บางสวนลงเพื่อ

                       นําไปใชปลูกพืชอายุสั้นทดแทนใหสมดุลกับปริมาณน้ําตนทุน  เพื่อใชเปนฐานขอมูลการปลูก

                       พืชฤดูแลงในปตอไป


                       3.5  การวิเคราะหความตองการใชน้ําเพื่อการเพาะปลูก


                                เนื่องจากพื้นที่ปลูกขาวนาปรังทั่วประเทศตองการใชน้ําเพื่อการเพาะปลูกในปริมาณมาก

                       ดังนั้นการกําหนดพื้นที่ปลูกจะตองคํานึงถึงปริมาณน้ํากักเก็บที่มีอยูในแหลงน้ําตาง ๆ  โดยเฉพาะ

                       ตามเขื่อนและอางเก็บน้ําขนาดใหญ  สําหรับในภาคเหนือจะใชน้ําตามลุมน้ําตาง ๆ  ที่มีอางเก็บน้ํา
                       ขนาดกลางและขนาดเล็กเปนสวนใหญ



                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101