Page 99 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 99

บทที่ 4

                                               การวิเคราะหดานเศรษฐกิจและสังคม



                              การวิเคราะหดานเศรษฐกิจและสังคมของการผลิตขาวนาปรังแบงการศึกษาออกเปน 2 สวน

                       คือ สวนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะหตนทุน มูลคาการผลิต(รายได) และผลตอบแทนจากการผลิต สวนที่ 2

                       ศึกษาปญหา ความตองการความชวยเหลือในการผลิตและทัศนคติในการใชที่ดินของเกษตรกร
                       ที่ปลูกขาวนาปรัง ขอมูลที่ศึกษาไดจากการสํารวจเกษตรกรที่ปลูกขาวนาปรังในพื้นที่

                       ที่ไดรับน้ําจากระบบชลประทานตามอําเภอและจังหวัดที่เปนแหลงผลิตที่สําคัญในภาคเหนือ

                       ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก โดยกําหนดความเหมาะสมของพื้นที่ที่ปลูก

                       ขาวนาปรังไว 3 ระดับ คือ ระดับความเหมาะสมสูง(S1) ระดับความเหมาะสมปานกลาง(S2) และระดับ
                       ความเหมาะสมเล็กนอย(S3) จากการสํารวจในพื้นที่พบวามีการปลูกขาวนาปรัง ในพื้นที่ที่มี

                       ความเหมาะสมสูง(S1) และพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง(S2) เทานั้น การศึกษาตนทุนและ

                       ผลตอบแทนจึงจําแนกตามระดับความเหมาะสมของพื้นที่ โดยใชราคาขายเฉลี่ยตามความเหมาะสม
                       ของพื้นที่สําหรับนํามาคํานวณมูลคาผลผลิตหรือรายได คือพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง(S1)

                       ใชราคาเฉลี่ย 5.17 บาทตอกิโลกรัม พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง(S2) ใชราคาเฉลี่ย 5.23

                       บาทตอกิโลกรัม ทั้งนี้เพื่อกําจัดปญหาดานราคามีความแตกตางกันตามสถานที่และระยะเวลา

                       สวนการศึกษาปญหา ความตองการความชวยเหลือในการผลิตและทัศนคติ ในการใชที่ดิน
                       ของเกษตรกรจะศึกษาในภาพรวมโดยไมจําแนกตามระดับความเหมาะสมของพื้นที่

                              ตนทุนหรือคาใชจายในการผลิตจําแนกเปน 2 ประเภท คือตนทุนผันแปรและตนทุนคงที่

                       ตนทุนผันแปร ไดแก คาใชจายที่เกิดขึ้นเมื่อทําการผลิตและจะเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการผลิต
                       ไดแก คาใชจายในการปลูก(พันธุและแรงงาน เปนตน) คาใชจายในการบํารุงรักษา(คาปุย ฮอรโมน

                       สารปองกันและกําจัดวัชพืช คาแรงงาน เปนตน) ตนทุนคงที่ เปนคาใชจายที่เกิดขึ้นคงที่แมจะไม

                       ทําการผลิตก็ตองมีคาใชจายจํานวนนี้ ไดแก คาเชาที่ดิน คาใชที่ดิน คาภาษีที่ดินและคาเสื่อม

                       อุปกรณตางๆ เปนตน ตนทุนที่เปนเงินสด เปนตนทุนที่เปนตัวเงินที่เกษตรกรจายไปจริงในการ
                       ซื้อหรือจางปจจัยในการผลิต ตนทุนที่ไมเปนเงินสด เปนตนทุนที่คิดจากมูลคาของปจจัยที่เกษตร

                       ใชในการผลิตโดยเกษตรกรเปนเจาของปจจัยหรือไดมาโดยไมไดคิดเปนตัวเงิน ไดแก

                       คาแรงงานคนในครัวเรือน คาแรงงานเครื่องจักรของตนเอง คาใชที่ดินของตนเอง เปนตน

                       ผลตอบแทนจากการผลิตจะพิจารณาจาก ผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด ผลตอบแทน
                       เหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด รวมทั้งอัตราผลตอบแทนตอตนทุนทั้งหมด

                       (B/C) เพื่อเปรียบเทียบและแสดงใหเห็นถึงผลตอบแทนที่ไดรับจากการลงทุนที่เทากัน
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104