Page 97 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 97

3-20








                                จากการวิเคราะหสภาพปญหาการเพาะปลูก  และการใชน้ําในการปลูกพืชฤดูแลงใน
                       จังหวัดตางๆ  ของประเทศไทย  พบวา  ในภาคเหนือตอนบนสวนใหญเกษตรกรจะทํานาปรัง

                       สอดคลองกับพื้นที่เปาหมายที่กําหนดและบางพื้นที่ก็มีการปลูกพืชไรฤดูแลงทดแทนโดยเฉพาะ

                       พืชอายุสั้นและพืชตระกูลถั่ว  เนื่องจากในพื้นที่ดังกลาวไมมีโครงการขนาดใหญ  สวนมากเปน
                       โครงการชลประทานขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งในป 2547/48 ปริมาณน้ําตนทุนและน้ําในแมน้ํา

                       ลําคลอง ลดนอยลงมากกวาปกติ เกษตรกรโดยการแนะนําและสงเสริมของทางราชการ จึงปรับเปลี่ยน

                       มาปลูกพืชฤดูแลงเพิ่มขึ้น หรืองดการทํานาปรังในบางพื้นที่ลง โดยเฉพาะพื้นที่มีความเหมาะสมนอย
                       หรือสภาพพื้นที่คอนขางสูงไมสามารถสงน้ําไดทั่วถึง ถาทํานาปรังอาจมีตนทุนในเรื่องการสูบน้ําเขานา

                       คอนขางสูง  ปจจุบันไดเกิดวิกฤติการณชวงแลงยาวนานกวาปกติ  ทําใหไมมีน้ําสะสมลงอางและ

                       แหลงน้ําอยางเชนปกอน ๆ ที่ผานมา กลาวคือ โครงการชลประทานของจังหวัดลําปาง ปริมาณน้ําตนทุน
                       ที่มีอยูในแหลงน้ําตางๆ มีปริมาณเก็บกักรวม 112.56  ลานลูกบาศกเมตร  หรือคิดเปนรอยละ 49.0

                       ของปริมาณน้ําที่กักเก็บไดเทานั้น ซึ่งต่ํากวาในปที่ผานมา (ขอมูลเดือนกุมภาพันธ 2548) แตอยางไรก็ตาม

                       ในเขตพื้นที่โครงการชลประทานขนาดใหญ (เขื่อนกิ่วลม) ยังคงมีปริมาณน้ําเพียงพอสําหรับ

                       ทําการเกษตร แตในอางเก็บน้ําขนาดกลางและขนาดเล็กบางแหงเริ่มเขาสูสถานการณขาดแคลนน้ํา
                       เพื่อทําการเกษตร โดยเฉพาะน้ําในลําหวยและลําน้ําสาขาตาง ๆ มีแนวโนมเขาสูสภาวะแหงแลงและ

                       มีจํานวนน้ํานอย  และบางพื้นที่ที่อยูนอกเขตโครงการที่สามารถปลูกพืชฤดูแลงได  สวนใหญก็เปน

                       พื้นที่การเกษตรที่อยูตามแนวริมฝงแมน้ําวังและแมน้ําสาขาบางแหงเทานั้น สําหรับการปลูกพืชฤดูแลง

                       ป 2548 พบวา มีการปลูกขาวนาปรังต่ํากวาเปาหมายมีเนื้อที่ 5,856 ไร สวนการปลูกพืชไรและพืชผัก
                       เพิ่มขึ้นมีเนื้อที่ 75,590  ไร  ในจํานวนนี้สําหรับการเพาะปลูกในเขตชลประทานจะสอดคลองกับ

                       แผนที่ปรับตามศักยภาพน้ําตนทุนปจจุบัน  แตมีเนื้อที่ลดลงตามแผนการจัดสรรน้ําตนป  ดังนั้นจึง

                       เปนขอสังเกตวามีแนวโนมเกิดการขาดแคลนน้ําอยางมากในปจจุบัน  ซึ่งทําใหตองกําหนดจํานวน
                       ครั้งและความถี่ในการปลอยน้ําเพื่อการเพาะปลูกในเขตชลประทานลง

                                สําหรับในพื้นที่เขตชลประทานภาคเหนือตอนบนในจังหวัดลําปาง เชียงราย พะเยา และ

                       นาน ก็ไดปรับเปลี่ยนแผนการจัดสรรน้ําและการปลูกพืชฤดูแลงป 2547/48 เชนกันโดยการปรับ-ลด
                       เปาหมายพื้นที่ปลูกใหสอดคลองกับศักยภาพน้ําตนทุนและกับกลุมผูใชน้ํา  โดยพื้นที่ปลูกขาวนาปรัง

                       จะลดลงจากแผนกําหนดไวเดิมรวม 96,960ไร เปน 65,340ไร ซึ่งผลการเพาะปลูกพืชฤดูแลง

                       ในเขตชลประทาน พบวา เกษตรกรเพาะปลูกไดใกลเคียงกับแผนที่กําหนด จะเห็นวา การวิเคราะห
                       ความตองการน้ําเพื่อการปลูกพืชมีความสําคัญ โดยเฉพาะการทํานาปรังซึ่งตองการน้ําตลอดฤดูปลูก

                       ประมาณ 1,600-2,000 ลูกบาศกเมตร ถาการทํานาปรังประมาณ 8 ลานไร จะตองมีน้ําตนทุนเพื่อการ

                       ปลูกขาวประมาณ 8 x 1,600 เทากับ 12,800 ลานลูกบาศกเมตร แตเมื่อคิดประสิทธิภาพการ



                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102