Page 98 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 98

3-21








                       สงน้ําชลประทานและน้ําใชการจริง ปริมาณน้ําตนทุนที่ใชเพื่อการนี้อาจมีปริมาณสูงขึ้นอีกรอยละ 20-30
                       ซึ่งเทากับตองการปริมาณน้ําใชการรวมประมาณ 16,000-17,000  ลานลูกบาศกเมตร  ในขณะที่

                       ปริมาณน้ําใชการรวมของป 2548 มีประมาณ 25,300 ลานลูกบาศกเมตร ในจํานวนนี้จะนําไปใชใน

                       การเกษตรฤดูแลงประมาณรอยละ 70-80 จะเห็นวาปริมาณน้ําอาจไมเพียงพอตอการใชอุปโภค-บริโภค
                       และตกกลาในฤดูถัดไป  ดังนั้น  จึงเห็นไดวา  การใชน้ําเพื่อการเพาะปลูกพืชฤดูแลงซึ่งตองอาศัย

                       แหลงน้ําตนทุนเปนหลัก  จึงตองมีการบริหารการจัดการน้ําใหสอดคลองเหมาะสม  และแนวโนม

                       เนื้อที่การเพาะปลูกพืชในหลายพื้นที่ตองปรับเปลี่ยนลดลงตามสภาวการณความแหงแลงและ
                       การขาดแคลนน้ําที่เกิดขึ้นในปจจุบัน

                                ในขณะที่โครงการชลประทานบางโครงการที่มีน้ําตนทุนนอย เนื่องจากน้ําที่สะสมอยูใน

                       อางหรือเขื่อนมีปริมาณต่ํากวารอยละ 50   ของน้ําใชการสูงสุด  การใชน้ําจึงตองจัดสรรไวเพื่อ
                       บรรเทาความเดือดรอนของประชาชนเพื่อใชอุปโภค-บริโภค และสํารองไวเพื่อใชตกกลาในฤดูตอไป

                       เทานั้น ดังนั้น จึงทําใหสงน้ําตามคลองชลประทานไมเต็มที่ และบางกรณีจึงตองกําหนดระยะเวลา

                       ความถี่ของการสงน้ําและรอบหมุนเวียนของการสงน้ํา แตอยางไรก็ตามเกษตรกรก็สามารถนําน้ําไป

                       ใชในการปลูกพืชอายุสั้นไดแตอาจตองใชปมน้ําสูบหรือดึงน้ําจากคลองชลประทาน  เนื่องจาก
                       ระดับน้ําต่ํากวาปกติ  ทําใหตองเสียคาใชจายดานน้ํามันเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้น  ถาเปนการทํานาปรังซึ่ง

                       เปนพืชที่ใชน้ํามาก  ตองเสียคาใชจายเพิ่มขึ้นอยางแนนอน  จะเห็นวา  ปจจุบันปริมาณน้ําเพื่อ

                       การเกษตรมีแนวโนมลดนอยลง เพราะจะตองสํารองและจํากัดการใชเพื่อประโยชนในการอุปโภค-

                       บริโภค  และปลูกพืชที่ใชน้ํานอยโดยเฉพาะพืชไรอายุสั้นและพืชไรพืชผักเทานั้น  ดังนั้น  การลด
                       พื้นที่ปลูกนาปรังในฤดูแลง  จึงมีความจําเปนอยางยิ่งเพื่อนําปริมาณน้ําที่มีอยูอยางจํากัดปลูกพืช

                       อื่น ๆ  ที่ใชน้ํานอยกวาทดแทนโดยเฉพาะพืชที่ใชผลตอบแทนสูงเชน  การปลูกพืชเพื่อผลิตเมล็ด

                       พันธุ  เปนตน  จึงนับวาเปนการใชประโยชนจากทรัพยากรน้ําที่มีอยูจํากัดอยางมีประสิทธิภาพ  และ
                       บริหารจัดการน้ําเพื่อการปลูกพืชใหเกิดประโยชนสูงขึ้นกวาในอดีตที่ผานมา

























                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103