Page 91 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 91

3-16








                       3.4  การประเมินศักยภาพการใชน้ําชลประทานเพื่อการเพาะปลูก


                                เนื่องจากการปลูกพืชฤดูแลง  จําเปนตองมีแหลงน้ําตนทุนใหเพียงพอตอการปลูกพืช
                       ใหตลอดฤดูปลูก  เพื่อมิใหเกิดความเสี่ยงตอผลผลิตเสียหายทั้งดานผลผลิตตอไร  และปริมาณ

                       ผลผลิตรวมทั้งหมด ซึ่งแหลงน้ําที่จะใชในการเพาะปลูก  จะไดมาจากแหลงกักเก็บน้ําที่จัดสราง

                       และแหลงน้ําตามธรรมชาติ ไดแก อางเก็บน้ํา เขื่อน แหลงน้ําขนาดเล็ก (ฝาย ทํานบ) และแหลงน้ํา

                       ธรรมชาติทั่วไป  เชน  แมน้ํา  ลําคลอง  สระ  หนองน้ําตางๆ  นอกจากนี้ยังมีแหลงน้ําใตดินที่ใชใน
                       การเกษตรได โดยเฉพาะที่ราบลุมภาคเหนือตอนลางและภาคกลางตอนบน  แตอยางไรก็ตาม

                       แหลงน้ําผิวดินที่เปนแหลงน้ําขนาดใหญที่มีอยูในภาคตางๆ ของประเทศไทย ประมาณ 30 กวาแหง

                       นับวาแหลงน้ําตนทุนที่นํามาใชในกิจกรรมตางๆ โดยเฉพาะประมาณรอยละ 70-80 ของทั้งหมด จะใช
                       เพื่อการเกษตรกรรม ดังนั้น การวิเคราะหปริมาณน้ําที่มีอยูที่สามารถชวยเหลือในการเพาะปลูกพืชฤดูแลง

                       ในแตละป จึงถูกนํามาพิจารณาจัดสรรน้ําเพื่อการปลูกพืชวามีศักยภาพพอเพียงหรือไม ซึ่งจากแผนการ

                       จัดการน้ําและการเพาะปลูกพืชฤดูแลงป 2547/48  ของกรมชลประทานที่กําหนด จึงสามารถนํามา

                       เปนฐานในการกําหนดพื้นที่เพาะปลูกในฤดูเพาะปลูกปนี้  และจะนํามาวางแผนในอนาคต โดยในป
                       2548 กรมชลประทานไดกําหนดพื้นที่เปาหมายโดยไดวางแผนการจัดสรรน้ําคิดเปนปริมาณน้ํารวม

                       ทั้งสิ้น 12,446  ลานลูกบาศกเมตร  ในจํานวนนี้เปนการใชเพื่อการเกษตร 9,526  ลานลูกบาศกเมตร

                       นอกนั้นเพื่อการอุปโภค-บริโภคและอื่นๆ  โดยปริมาณน้ําดังกลาวจะนําไปกําหนดเปาหมายการ
                       ปลูกพืชฤดูแลง คือ ใชปลูกขาวนาปรังประมาณ 5.40 ลานไร ปลูกพืชไร-พืชผัก 0.945 ลานไร ที่เหลือ

                       นอกนั้นใชในสวนผลไมและกิจกรรมอื่น (ตารางภาคผนวกที่ 2 )

                                ซึ่งจากการศึกษาและรวบรวมขอมูลแตละพื้นที่พบวา  ในป 2548  นี้ไดเกิดวิกฤติภัยแลง
                       อยางรุนแรง ทั้งนี้เนื่องจากวาเกิดภาวะฝนทิ้งชวงอยางยาวนาน ตั้งแตเดือนตุลาคม 2547 เปนตนมา

                       ทําใหน้ําตนทุนที่มีอยูในแหลงน้ําตาง ๆ ลดนอยกวาปที่ผานมามาก ทําใหเกิดการขาดแคลนน้ําอยางหนัก

                       โดยเฉพาะพื้นที่ปลูกขาวนาปรังในเขตภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทําใหหลายพื้นที่ตาง ๆ
                       ประสบกับปญหาความแหงแลง  โดยเฉพาะขาวนาปรังที่ตองใชปริมาณน้ํามากกวาฤดูปกติและ

                       พืชไร-พืชผักอื่นๆ  (ตารางที่ 3-4 ) ซึ่งปญหาดังกลาวนี้ ทางการจึงไดกําหนดพื้นที่เปาหมายการปลูก

                       พืชฤดูแลงในป 2547/48  ขึ้นมาทั้งประเทศ โดยคณะอนุกรรมการวางแผนและสงเสริมการปลูก

                       พืชฤดูแลง ไดกําหนดพื้นที่เพาะปลูกขาวนาปรังประมาณ 7.52 ลานไร ซึ่งต่ํากวาเปาหมายระยะยาว
                       (ป2547-2551) ที่กําหนดไวไมต่ํากวา 9.0 ลานไร โดยแยกเปนเขตชลประทานประมาณ 5.4 ลานไร

                       และนอกเขตชลประทาน 2.12 ลานไร และในสวนของพืชไร-พืชผักไดกําหนดไวประมาณ 2.67 ลานไร

                       โดยในเขตชลประทานประมาณ 0.95 ลานไร และนอกเขตชลประทาน 1.72 ลานไร เพื่อเปน
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96