Page 92 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 92

3-17








                       ตารางที่ 3-4  ปริมาณการใชน้ําของขาวเมื่อเปรียบเทียบกับพืชไรอายุสั้นบางชนิดตลอดฤดูปลูก



                              พืช                     ปริมาณการใชน้ํา                      ที่มา


                                              มิลลิเมตร        ลูกบาศกเมตรตอไร

                        ขาว                                     1,200                           1,920   สถาบันวิจัยพืชไร (2536)

                        ขาวโพด                      435-475              695-760   สมชายและคณะ (2541)
                        ทานตะวัน                     180-324              288-518   กนกพรและคณะ (2537)

                        ถั่วเหลือง                   239-338              382-540   วันชัยและคณะ (2540)

                        ถั่วลิสง                                   460                              736   สถาบันวิจัยพืชไร (2536)

                        ถั่วเขียว                    196-218              314-349  สมชาย (2535)


                       ที่มา : สมชาย บุญประดับ และศุภชัย แกวมีชัย (2543)



                       การลดการใชน้ําในเขื่อนและอางเก็บน้ําตางๆ โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอายุสั้นที่ใช
                       น้ํานอยแทน  ดังนั้นจะเห็นไดวาเปาหมายการปลูกพืชฤดูแลงโดยเฉพาะนาปรัง พื้นที่ปลูกตาม

                       การจัดสรรของกรมชลประทานกําหนดไวประมาณ 5.4  ลานไร  จะสอดคลองมีแนวโนมในทาง

                       เดียวกันกับคณะอนุกรรมการวางแผนและสงเสริมพืชฤดูแลงที่กําหนดไว
                                แตอยางไรก็ตาม จากการสํารวจสภาพการผลิตและรายงานผลการเพาะปลูกขาวนาปรัง

                       จะพบวา พื้นที่ปลูกขาวนาปรังของเกษตรกรในป 2547/48 จะมากกวาเปาหมายกําหนด คือ มีพื้นที่ปลูก

                       รวมกันในเขตชลประทานประมาณ 7.5 ลานไร ซึ่งสูงกวาเปาหมายประมาณรอยละ 40 ทั้งนี้เนื่องจาก
                       ราคาขาวในปที่ผานมาเปนแรงจูงใจใหเกษตรกรกลาลงทุนแมจะเสี่ยงก็ตาม จากสถานการณดังกลาว

                       จึงกอใหเกิดการเสี่ยงตอผลผลิตเสียหายไดอยางมากจากการขาดแคลนน้ําเพาะปลูก โดยเฉพาะนาปรัง

                       ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คาดวาจะไดผลผลิตประมาณ 5 ลานตันเทานั้น ซึ่งต่ํากวา

                       คาเฉลี่ยของปที่ผานมาประมาณ 1  ลานตัน  แตอยางไรก็ตาม แมวาพื้นที่ปลูกขาวนาปรังและ
                       ผลผลิตที่ไดรับจะต่ํากวาปกอนๆ  แตก็ทําใหเห็นวา ถึงเวลาแลวที่ควรมีการกําหนดพื้นที่ปลูกให

                       สอดคลองกับปญหาการขาดแคลนน้ําที่จะมีขึ้นตอไปในอนาคต (ตารางที่ 3-5)

                                สําหรับในพื้นที่ทํานาปรังในภาคเหนือตอนลางและภาคกลางนั้น จะใชน้ําในอางขนาดใหญ

                       2  อางเปนหลัก  คือ  อางเก็บน้ําเขื่อนภูมิพล  และอางเก็บน้ําสิริกิติ์ เปนแหลงน้ําตนทุนที่สําคัญ
                       โดยเฉพาะพื้นที่ปลูกในลุมน้ําเจาพระยาทั้งหมด ซึ่งจากสถิติปริมาณน้ําใชของทั้ง 2 อาง พบวา




                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97