Page 17 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 17
2-3
แมน้ําที่สําคัญในภาคนี้ คือ แมน้ําบางปะกง แมน้ําระยอง แมน้ําประแสร แมน้ําจันทบุรี ซึ่งไหลลงสู
อาวไทย
ภาคตะวันออกมี 7 จังหวัด คือ ปราจีนบุรี สระแกว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี
และตราด
สําหรับทางภาคใตของไทย เนื่องจากมีปริมาณฝนตกชุกมาก เพราะสภาพพื้นที่เปนที่ราบ
ระหวางเขาหรือที่ราบชายฝงทะเล บริเวณที่ราบลุมที่เหมาะสมกับการทํานามีไมมากนัก จะแพรกระจาย
อยูบริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุงและสงขลาเปนสวนใหญ เนื่องจากอยูในเขตรอนชื้น
ทําใหมีฝนตกถึง 8 เดือนตอป การทํานาปรังในฤดูแลง จึงไมมีปญหาในเรื่องน้ํามากนัก เปนแตเพียง
การชวยเสริมการเพาะปลูกในชวงฝนทิ้งชวงเทานั้น ดังนั้นการทํานาปรังฤดูแลงจึงแตกตางจากภาคอื่นๆ
ของประเทศไทยและสวนใหญสําหรับใชบริโภคภายในประเทศเทานั้น
2.2 ภูมิอากาศ
2.2.1 ลมมรสุม
ประเทศไทยอยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต
และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
1) ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต มรสุมตะวันตกเฉียงใตพัดปกคลุมประเทศไทย
ระหวางกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม โดยมีแหลงกําเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูง
ในซีกโลกใตบริเวณมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งพัดออกจากศูนยกลางเปนลมตะวันออกเฉียงใตและ
เปลี่ยนเปนลมตะวันตกเฉียงใตเมื่อพัดขามเสนศูนยสูตร มรสุมนี้จะนํามวลอากาศชื้นจาก
มหาสมุทรอินเดียมาสูประเทศไทยทําใหมีเมฆมากและฝนตกชุกทั่วไป โดยเฉพาะอยางยิ่งตาม
บริเวณชายฝงทะเลและเทือกเขาดานรับลมจะมีฝนตกมากกวาบริเวณอื่น
2) ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ หลังจากหมดอิทธิพลของมรสุมตะวันตก
เฉียงใตแลว ประมาณกลางเดือนตุลาคมจะมีมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทย
จนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ มรสุมนี้มีแหลงกําเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงบนซีกโลกเหนือ
แถบประเทศมองโกเลียและจีน จึงพัดพาเอามวลอากาศเย็นและแหงจากแหลงกําเนิดเขามาปกคลุม
ประเทศไทยทําใหทองฟาโปรง อากาศหนาวเย็น และแหงแลงทั่วไป โดยเฉพาะภาคเหนือและ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนภาคใตจะมีฝนตกชุกโดยเฉพาะภาคใตฝงตะวันออกเนื่องจากมรสุมนี้
นําความชุมชื้นจากอาวไทยเขามาปกคลุม การเริ่มตนและสิ้นสุดมรสุมทั้งสองชนิดอาจผันแปรไป
จากปกติไดในแตละป
เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน