Page 19 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 19

2-5








                       อากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟาคะนอง โดยเฉพาะบริเวณภาคกลางตอนลางและภาคตะวันออกลงไป
                       ซึ่งจะหมดฝนและเริ่มมีอากาศเย็นชากวาภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                              2.2.3   ปริมาณฝน

                                     ปริมาณฝนรวมตลอดปเฉลี่ยทั่วประเทศมีคาประมาณ 1,546.1        มิลลิเมตร
                       ปริมาณฝนในแตละพื้นที่เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะภูมิประเทศนอกเหนือจากการผันแปรตาม

                       ฤดูกาล บริเวณประเทศไทยตอนบนปกติจะแหงแลงและมีฝนนอยในฤดูหนาว เมื่อเขาสูฤดูรอน

                       ปริมาณฝนจะเพิ่มขึ้นบางพรอมทั้งมีพายุฟาคะนอง และเมื่อเขาสูฤดูฝนปริมาณฝนจะเพิ่มขึ้นมาก
                       โดยจะมีปริมาณฝนมากที่สุดในเดือนสิงหาคมหรือเดือนกันยายน พื้นที่ที่มีปริมาณฝนมากสวนใหญ

                       จะอยูดานหนาทิวเขาหรือดานรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ไดแก พื้นที่ทางดานตะวันตกของ

                       ประเทศ  บริเวณอําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี และภาคตะวันออกบริเวณจังหวัดจันทบุรีและ

                       จังหวัดตราด โดยเฉพาะที่อําเภอคลองใหญ จังหวัดตราด มีปริมาณฝนรวมตลอดปมากกวา 4,000 มิลลิเมตร
                       สวนพื้นที่ที่มีฝนนอยสวนใหญอยูดานหลังเขา ไดแก พื้นที่ตอนกลางของภาคเหนือบริเวณจังหวัด

                       ลําพูน ลําปาง และแพร พื้นที่ดานตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณจังหวัดชัยภูมิและ

                       จังหวัดนครราชสีมา และภาคกลาง สําหรับภาคใตมีฝนตกชุกเกือบตลอดป ยกเวนชวงฤดูรอน พื้นที่
                       บริเวณภาคใตฝงตะวันตกซึ่งเปนดานรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจะมีปริมาณฝนมากกวาภาคใตฝง

                       ตะวันออกในชวงฤดูฝน โดยมีปริมาณฝนมากที่สุดในเดือนกันยายน สวนชวงฤดูหนาวบริเวณภาคใตฝง

                       ตะวันออกซึ่งเปนดานรับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะมีปริมาณฝนมากกวาภาคใตฝงตะวันตก

                       มีปริมาณฝนมากที่สุดในเดือนพฤศจิกายน พื้นที่ที่มีปริมาณฝนมากที่สุดของภาคใตอยูบริเวณ
                       จังหวัดระนองซึ่งมีปริมาณฝนรวมตลอดปมากกวา 4,000  มิลลิเมตร สวนพื้นที่ที่มีฝนนอย ไดแก

                       ภาคใตฝงตะวันออกตอนบนดานหลังทิวเขาตะนาวศรี บริเวณจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัด

                       ประจวบคีรีขันธ (ตารางที่ 2-1 และ รูปที่ 2-1)
                              2.2.4   ความชื้นสัมพัทธ

                                     ความชื้นสัมพัทธของอากาศเปนอัตราสวนของจํานวนไอน้ําที่มีอยูในอากาศ

                       ตอจํานวนไอน้ําที่อาจมีไดจนอิ่มตัวเต็มที่ในอากาศเดียวกันนั้น   ความชื้นสัมพัทธจึงกําหนดเปน
                       รอยละโดยใหจํานวนความชื้นที่อิ่มตัวเต็มที่เปน 100  สวน ประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอนใกล

                       เสนศูนยสูตรจึงมีอากาศรอนชื้นปกคลุมเกือบตลอดป เวนแตบริเวณที่อยูลึกเขาไปในแผนดิน ตั้งแต

                       ภาคกลางขึ้นไปความชื้นสัมพัทธจะลดลงชัดเจนในชวงฤดูหนาวและฤดูรอน โดยเฉพาะฤดูรอน

                       จะเปนชวงที่ความชื้นสัมพัทธลดลงต่ําสุดในรอบป ในบริเวณดังกลาวมีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ย
                       ตลอดป  รอยละ 72-74  สวนบริเวณภาคใตความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยจะอยูในชวงรอยละ 79-82

                       (ตารางที่ 2-2  และ 2-3)





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24