Page 13 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 13

1-3








                           1.3.3 การนําเขาและวิเคราะห

                                การวิเคราะหขอมูลเฉพาะดานตางๆ ไดมีการนําเขาขอมูลเชิงอรรถาธิบายและขอมูลเชิงพื้นที่

                       ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรตางๆ อาทิ เชน MS-Word Ms-Excel Cropwat ALES SPSS ArcInfo
                       และ ArcView เปนตน และดําเนินการดังตอไปนี้

                                1) ศึกษาและวิเคราะหการใชที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจขาวนาปรังในสภาพปจจุบัน

                       โดยการศึกษาวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการสํารวจภาคสนามรวมกับขอมูลที่ไดจาก

                       สวนวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน เพื่อใหไดขอมูล
                       สอดคลองกับสภาพการผลิตในปจจุบัน

                                2)  วิเคราะหความเหมาะสมของที่ดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง จากรายงาน

                       เขตความเหมาะสมของดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจ โดยศึกษารวมกับการใชที่ดินและการจัดการพื้นที่
                                3)  วิเคราะหพื้นที่เปาหมายในการผลิตใหสอดคลองกับนโยบายและยุทธศาสตรของ

                       กระทรวงเกษตรและสหกรณ  ป 2547-2551 ซึ่งกําหนดพื้นที่และเปาหมายผลผลิตขาวนาปรัง

                       โดยการคงระดับพื้นที่ไวประมาณ 9.0 ลานไร และผลผลิตรวม 7.20 ลานตันในป 2551

                                4)  การวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจ
                                  4.1) ทําการวิเคราะหเพื่อประเมินความเหมาะสมของพืชเศรษฐกิจกับสภาพพื้นที่

                       ประกอบกับขอมูลเชิงพื้นที่ของผลผลิตขาวนาปรัง ที่เกษตรกรเพาะปลูกในกลุมชุดดินที่มี

                       ความเหมาะสมที่แตกตางกัน เปนการวิเคราะหขอมูลเพื่อใหสามารถคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสม
                       ทั้งทางดานกายภาพของพื้นที่และผลตอบแทนทางดานเศรษฐกิจ ที่มีลักษณะสอดคลองทิศทาง

                       เดียวกัน ในการนี้ จึงไดใชปจจัยดานผลผลิตเฉลี่ยตอไร ของการผลิตขาวนาปรังในกลุมชุดดิน

                       ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1)  และ กลุมชุดดินที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                       เปนเครื่องมือในการตัดสินใจ โดยใชหลักการวิเคราะหของดานสถิติ

                                  4.2) การวิเคราะหขอมูลเพื่อประเมินผลตอบแทนทางดานเศรษฐกิจ ไดนําวิธีการ

                       จากระบบ FAO Frame work (1983) มาประยุกตใชรวมกับหลักการทางสถิติ ทําการวิเคราะหขอมูลการผลิต
                       ในปการเพาะปลูกปจจุบัน เพื่อหาตนทุนและผลตอบแทนของการผลิตขาวนาปรังซึ่งผลตอบแทน

                       จะอยูในรูปของมูลคาบาทตอไร


                           1.3.4 การกําหนดเขตการปลูกพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง

                                นําพื้นที่เพื่อเกษตรกรรมประมาณ 165 ลานไร จากรายงานเขตความเหมาะสมของดินกับ

                       การปลูกพืชเศรษฐกิจ มาวิเคราะหรวมกับแผนที่เขตความเหมาะสมของดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                       ขาวนาปรัง การใชที่ดินปจจุบัน ขอมูลผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ตลอดจนนโยบายตางๆ ที่เกี่ยวของ





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18