Page 98 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 98

บทที่ 4

                                               การวิเคราะหดานเศรษฐกิจและสังคม



                              การวิเคราะหดานเศรษฐกิจและสังคมของการผลิตถั่วเหลืองแบงการศึกษาออกเปน 2 สวน
                       คือ สวนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะหตนทุน มูลคาการผลิต(รายได) และผลตอบแทนจากการผลิต

                       สวนที่ 2 ศึกษาปญหา ความตองการความชวยเหลือในการผลิตและทัศนคติในการใชที่ดินของเกษตรกร

                       ที่ปลูกถั่วเหลือง ขอมูลที่ศึกษาไดจากการสํารวจเกษตรกรที่ปลูกถั่วเหลืองในเขต(พื้นที่)
                       ที่ไดรับน้ําชลประทานตามอําเภอและจังหวัดที่เปนแหลงผลิตที่สําคัญในภาคเหนือ

                       ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก โดยกําหนดความเหมาะสมของดิน

                       ที่ปลูกถั่วเหลืองไว 3 ระดับ คือ ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2)
                       และระดับความเหมาะสมเล็กนอย (S3) จากการสํารวจเกษตรกรในพื้นที่พบวามีการปลูกถั่วเหลือง

                       ในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น

                       พันธุถั่วเหลืองที่สํารวจได ไดแก พันธุเชียงใหม60 สจ.4 สจ.5 สุโขทัย1 สุโขทัย2 และราชมงคล

                       การศึกษาตนทุนและผลตอบแทนจึงจําแนกตามพันธุและความเหมาะสมของดิน ซึ่งไดแบงพันธุ
                       ออกเปน 2 กลุม คือ พันธุเชียงใหม 60 และกลุมรวมพันธุ (สจ.4 สจ.5 สุโขทัย 1 สุโขทัย 2

                       และราชมงคล) สําหรับราคาที่นํามาคํานวณมูลคาผลผลิตตามกลุมพันธุนั้นใชราคาขายเฉลี่ย

                       ของแตละกลุมพันธุ คือ พันธุเชียงใหม 60 ใชราคาเฉลี่ย 15.57 บาทตอกิโลกรัม กลุมรวมพันธุ
                       (สจ.4  สจ.5  สุโขทัย 1  สุโขทัย 2 และราชมงคล) ใชราคาเฉลี่ย 12.68 บาทตอกิโลกรัม ทั้งนี้เพื่อกําจัด

                       ปญหาดานราคาที่แตกตางกันตามสถานที่และระยะเวลา

                              ตนทุนหรือคาใชจายในการผลิตจําแนกเปน 2 ประเภท คือตนทุนผันแปรและตนทุนคงที่

                       ตนทุนผันแปร ไดแก คาใชจายที่เกิดขึ้นเมื่อทําการผลิตและจะเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการผลิต
                       ไดแก คาใชจายในการปลูก (พันธุและแรงงาน เปนตน) คาใชจายในการบํารุงรักษา (คาปุย สารอาหาร

                       สารปองกันและกําจัดวัชพืชศัตรูพืช คาแรงงาน เปนตน) ตนทุนคงที่ เปนคาใชจายที่เกิดขึ้นคงที่แมจะไม

                       ทําการผลิตก็ตองมีคาใชจายจํานวนนี้ ไดแก คาเชาที่ดิน คาใชที่ดิน คาภาษีที่ดินและคาเสื่อมอุปกรณตางๆ
                       เปนตน ตนทุนที่เปนเงินสด เปนตนทุนที่เปนตัวเงินที่เกษตรกรจายไปจริงในการซื้อหรือจาง

                       ปจจัยในการผลิต ตนทุนที่ไมเปนเงินสด เปนตนทุนที่คิดจากมูลคาของปจจัยที่เกษตรใชในการผลิต

                       โดยเกษตรกรเปนเจาของปจจัยหรือไดมาโดยไมไดคิดเปนตัวเงิน ไดแก คาแรงงานในครัวเรือน

                       คาแรงงานเครื่องจักรของตนเอง คาใชที่ดินของตัวเอง เปนตน ผลตอบแทนจากการผลิตจะพิจารณาจาก
                       ผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103