Page 97 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 97

3-23








                       เนื่องจากเปนพืชที่มีผลตอบแทนคอนขางต่ํา ซึ่งสวนใหญการใหน้ําแบบนี้กระทําในสภาพแปลงทดลอง
                       และขยายพันธุ เพื่อผลิตเมล็ดพันธุในสถานีวิจัยตางๆ เทานั้น


                                2. การใหน้ําทางผิวดิน (surface irrigation) การใหน้ําวิธีนี้ใชกันอยูทั่วไปทั้งในสภาพไร
                       และสภาพนา  การใหน้ําทางผิวดินสามารถกระทําไดโดยการปลอยใหน้ําทวมขังไวในแปลงหรือ

                       ไหลไปบนผิวดินและซึมลึกลงไปในดินที่จุดน้ําขังหรือไหลผาน  การใหน้ําแบบนี้สามารถแบงออกได

                       เปน 2 วิธีใหญๆ คือ การใหน้ําแบบรองคู (furrow irrigation) และการใหน้ําแบบปลอยทวมแปลง
                       (flooding irrigation) ขอดีของการใหน้ําแบบนี้ คือ ลงทุนต่ํา สะดวก และรวดเร็ว ใชไดกับดินและ

                       พืชทุกชนิด สวนขอเสียคือ สิ้นเปลืองน้ํามาก ตองปรับระดับพื้นที่กอนการใหน้ํา และใชแรงงานมาก

                       ในการใหน้ํา  สําหรับในกรณีการปลูกถั่วเหลืองเกษตรกรสวนใหญใหน้ําดวยวิธีนี้ เกษตรกรจะสูบน้ํา

                       จากบอน้ําตื้นหรืออางเก็บน้ําแลวปลอยน้ําเขาแปลงจนทวมทั่วกันทั้งแปลง และทิ้งไวประมาณหนึ่งคืน
                       ถึงจะระบายน้ําออก หลังจากนั้นทิ้งไวใหดินแหงพอเหมาะพรอมที่จะปลูกได สําหรับในบางทองที่

                       โดยเฉพาะในเขตชลประทานภาคกลาง ซึ่งเปนที่ราบลุม ลักษณะของดินสวนใหญเปนดินเหนียวถึง

                       เหนียวจัดมีการระบายน้ําไมดี ดังนั้น การปลูกพืชไรโดยวิธีการยกแปลงและใหน้ําแบบรองคูจะ
                       ไดผลดีกวาแบบปลอยทวมแปลง ซึ่งมักประสบปญหาน้ําทวมขังในแปลง ทําใหการเจริญเติบโตไมดี

                       และผลผลิตคอนขางต่ํา












































                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102