Page 121 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 121

6-4








                        3) ภาคกลาง  เปนภาคที่มีเนื้อที่เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงรองลงมา
               จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ครอบคลุมพื้นที่ 10 จังหวัด 43 อําเภอ 183 ตําบล โดยแบงออกเปน

               เขตการใชที่ดินที่มีความเหมาะสมปานกลาง  และเหมาะสมนอย  มีเนื้อที่ 60,922  และ 446  ไร

               ตามลําดับ คิดเปนรอยละ 99.27 และ 0.73 ของเนื้อที่เขตการใชที่ดินภาคกลางตามลําดับ โดยจังหวัด
               กาญจนบุรี มีเนื้อที่เขตการใชที่ดินถั่วเหลืองฤดูแลงมากที่สุด  มีเนื้อที่ 10,653 ไร  คิดเปนรอยละ

               17.36

                        4)  ภาคตะวันออก เปนภาคที่มีเนื้อที่เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงนอยที่สุด
               คือ ครอบคลุมพื้นที่ 3 จังหวัด 6 อําเภอ 12 ตําบล โดยแบงออกเปนเขตการใชที่ดินที่มีความเหมาะสม

               ปานกลางทั้งหมด มีเนื้อที่ 3,541 ไร โดยจังหวัดระยอง มีเนื้อที่เขตการใชที่ดินถั่วเหลืองฤดูแลง

               มากที่สุด มีเนื้อที่ 1,423 ไร คิดเปนรอยละ 40.19


               6.5 ขอเสนอแนะ


                        จากการรวบรวมและวิเคราะหประเด็นปญหาที่เกี่ยวของกับการกําหนดเขตการใชที่ดิน

               สามารถสรุปขอเสนอแนะและแนวทางแกไขปญหาดานตางๆ ไดดังนี้คือ


                   6.5.1แนวทางการแกไขปญหาเชิงบูรณาการ



                        เนื่องจากสภาวะความแหงแลงในป 2548 มีแนวโนมรุนแรงมากขึ้นกวาปกอนๆ ที่ผานมา
               และปริมาณน้ําในเขื่อนและอางเก็บน้ําตางๆ ซึ่งเปนน้ําตนทุนที่เก็บกักไวมีปริมาณนอยมาก จาก

               ปญหาการตัดไมทําลายปาตนน้ํา ทําใหฝนไมตกในพื้นที่เหนือเขื่อน น้ําไหลเขาเขื่อนนอยลงทุกป สวน

               ฝนที่ตกใตเขื่อนก็ไมมีการเก็บกักไวใชอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งที่มีปริมาณฝนตกมากจนเกิดปญหา
               ภาวะน้ําทวมในบางพื้นที่ แตอยางไรก็ตามในชวงฤดูฝนป 2548 นี้ ปริมาณน้ําที่ไหลเขาสะสมใน

               อางเก็บน้ําและเขื่อนก็ยังอยูในเกณฑนอยมาก ถาสถานการณดังกลาวยังคงเปนอยูตอเนื่องตอไป

               คาดวาจะสงผลกระทบตอการปลูกพืชฤดูแลงในปถัดไปคอนขางแนนอน

                        อาจสรุปไดวาปญหาความแหงแลงมีโอกาสเกิดขึ้นเปนประจําทุกปและมีแนวโนมรุนแรงขึ้น

               นับตั้งแตนี้ตอไป เพราะเกิดจากเหตุการณธรรมชาติที่ฝนทิ้งชวง การแกไขปญหาจําเปนตอง
               ดําเนินการอยางยั่งยืนซึ่งตองใชระยะเวลาสําหรับในระยะเรงดวน จําเปนตองแกไขปญหาภัยแลงที่

               อาจเกิดขึ้นเฉพาะหนา และเตรียมความพรอมไวเพื่อบรรเทาปญหาและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น

               ใหไดมากที่สุด ดังนั้น การแกปญหาอยางยั่งยืน ควรเปนการบริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการ

               ในระบบลุมน้ํา เพื่อประสานการพัฒนาทรัพยากรน้ํา ดิน ปาตนน้ําลําธาร และทรัพยากรอื่นๆ ที่
               เกี่ยวของใหมีน้ําใชประโยชนอยางเพียงพอ โดยมีหลักการดําเนินการดังนี้




               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126