Page 118 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 118

บทที่ 6

                                                         เขตการใชที่ดิน



                                การกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ  นับวาเปนการกําหนดพื้นที่เพาะปลูกพืช

                       โดยคํานึงถึงศักยภาพของพื้นที่ ทั้งทางดานกายภาพและเศรษฐกิจสังคมเปนหลัก การจะพิจารณาวา

                       พื้นที่บริเวณใดมีความเหมาะสมจะปลูกพืชฤดูแลงชนิดใด จึงขึ้นอยูกับปจจัยดานสภาพแวดลอมตางๆ
                       ตลอดจนนโยบายที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะการคํานึงถึงปริมาณน้ําเพื่อการเพาะปลูกพืชในแตละป

                       วามีเพียงพอตลอดฤดูกาลเพาะปลูกหรือไม ถือวาเปนปจจัยสําคัญในการพิจารณา ทั้งนี้ เพื่อลดความเสี่ยง

                       และความเสียหายทางดานผลผลิตและผลตอบแทนในการปลูกพืชชนิดนั้นๆ ที่อาจเกิดขึ้นได

                       ในสภาพความไมแนนอนทางดานราคาผลผลิตและปจจัยการผลิตในปจจุบัน


                       6.1  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน


                                การจัดทําเขตการใชที่ดิน  ตามยุทธศาสตรพืชหลักของกระทรวงเกษตรและสหกรณนั้น

                       มีนโยบายและเปาหมายการจัดโครงสรางสินคาเกษตร เพื่อรักษาระดับพื้นที่การผลิต ลดตนทุนการผลิต
                       ลดการนําเขาบางสวน และตอบสนองความตองการใชบริโภคภายในประเทศใหเพียงพอ โดยการสงเสริม

                       และขยายพื้นที่เพาะปลูกถั่วเหลืองไปในพื้นที่ที่มีศักยภาพในเขตชลประทาน เชน การปลูกพืชฤดูแลง

                       ทดแทนการทํานาปรังในเขตชลประทาน  ในขณะเดียวกัน  ก็เปนการลดการปลูกพืชที่ใชน้ํามาก
                       ที่เสี่ยงตอการขาดน้ําในฤดูแลง โดยเฉพาะในสภาวะความแหงแลงที่เปนอยูในปจจุบัน



                       6.2  การคัดเลือกพื้นที่


                                การพิจารณาคัดเลือกพื้นที่ จะทําการคัดเลือกพื้นที่ใหเพียงพอเพื่อใหไดผลผลิตรวมทั้งประเทศ

                       ตามยุทธศาสตรถั่วเหลืองป 2547–2551  ซึ่งกําหนดเปาหมายพื้นที่ปลูกและผลผลิตรวมทั้งประเทศ
                       ในป 2551 เทากับ 1.2 ลานไร และผลผลิตรวม 0.35 ลานตันโดยเปนถั่วเหลืองฤดูแลง 0.84 ลานไร

                       (ถั่วเหลืองฤดูฝน 0.36  ลานไร) สําหรับการพิจารณาพื้นที่  จะทําการคัดเลือกพื้นที่ที่มีศักยภาพ

                       ในเขตชลประทานเปนหลักและที่เปนแหลงผลิตถั่วเหลืองที่สําคัญของประเทศ โดยเฉพาะอยูในเขตที่
                       สามารถควบคุมการใชน้ําในฤดูแลงได โดยการคัดเลือกพื้นที่ปจจุบันเปนขาวนาปรังที่ปลูกในพื้นที่

                       ที่มีความเหมาะสมเล็กนอยหรือไมเหมาะสม  มีสภาพพื้นที่คอนขางสูง อาจมีปญหาในการสงน้ํา

                       และการขังน้ําเพื่อทํานาปรัง ในขณะที่บางบริเวณอยูไกลจากคลองชลประทาน แตเปนพื้นที่

                       ที่มีศักยภาพในการปลูกพืชไรอายุสั้นที่ใชน้ํานอยทดแทน พื้นที่ที่คัดเลือกไวดังกลาว จะเปนพื้นที่
                       ที่มีความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชไรอายุสั้นและพืชตระกูลถั่วในระดับตางๆ  ไดเปน
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123