Page 124 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 124

6-7








                           6.5.3 ขอแนะนําสําหรับเกษตรกรในการปลูกพืชฤดูแลง


                                1) การวางแผนกอนการปลูก ควรพิจารณาองคประกอบตอไปนี้เปนหลัก
                                  1.1) สภาพพื้นที่ดิน ควรหลีกเลี่ยงพืชที่ไมเหมาะสมกับดิน เชน ไมปลูกถั่วเหลือง

                       ถั่วเขียว ถั่วลิสง ในพื้นที่ลุมที่เปนดินเหนียว เชน ที่นาเพราะดินเหนียวระบายน้ํายาก ถาเปนดินรวน

                       หรือคอนขางรวน จะสามารถปลูกพืชตระกูลถั่ว ขาวโพด ไดผลดี

                                  1.2)  ความตองการน้ําของพืช ในฤดูแลงควรเลือกพืชที่ตองการน้ําคอนขางนอย
                       ไดแก พืชไร-พืชผัก ซึ่งควรปลูกในพื้นที่ดินรวนระบายน้ําดี และมีแหลงน้ําอยูใกลเคียง เพื่อความ

                       มั่นใจวาจะไมเกิดการขาดแคลนน้ําในชวงวิกฤติ

                                  1.3)  เวลาปลูกพืชฤดูแลงบางชนิดมีเวลาปลูกที่เหมาะสม ซึ่งถาปลูกลาชาเกินไปจะได
                       ผลผลิตต่ํา เชน ถั่วเหลืองฤดูแลง ควรปลูกชวงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม ไมควรปลูกลาชากวา

                       15  มกราคม จึงจะไดผลผลิตดี เพราะชวงเดือนมีนาคมถึงเมษายน อากาศรอนจัดมีผลตอการ

                       เจริญเติบโตและการติดฝก

                                  1.4)  ตลาด มีตลาดทองถิ่นรับซื้อในราคาที่เหมาะสม หรือมีโรงงานอุตสาหกรรม
                       เกษตรที่พรอมใหความรวมมือในการผลิตแบบขอตกลงลวงหนา เชน โรงงานอุตสาหกรรม

                       เกษตร ที่ตองการวัตถุดิบ ขาวโพดหวาน มันฝรั่ง พริก ถั่วเหลืองฝกสด ถั่วเหลือง ขาวโพดฝกออน

                       มะเขือเทศ หนอไมฝรั่ง เมล็ดพันธุผัก ฯลฯ โดยมีการกําหนดจุดรับซื้อ โควตาการผลิตและราคา
                       ที่คุมกับการลงทุน

                                  1.5)  การแปรรูป ควรเลือกพืชที่ปลูกแลว สามารถขายเปนวัตถุดิบเพื่อแปรรูปใน

                       ทองถิ่นได เชน พริก ถั่วเหลือง ขมิ้น ผักกาด ถั่วลิสงเมล็ดโต สมุนไพร ฯลฯ เพื่อเพิ่มมูลคาการผลิต
                       บรรเทาปญหาสินคาลนตลาด และสนับสนุนวิสาหกิจชุมชน

                                2)  การดูแลรักษา

                                  ถาปลูกไปแลวและทราบวากําลังจะเกิดปญหาการขาดแคลนน้ํา ควรเรงปองกัน
                       การระเหยของน้ําจากตนพืชใหนอยที่สุด และรักษาความชุมชื้นของดินไวใหมากที่สุด เกษตรกร

                       ควรปฏิบัติดังนี้

                                  2.1) ใชวัสดุคลุมแปลงปลูก (Mulching) ปุยคอก ปุยอินทรีย เศษหญา ใบไม ชานออย

                       แกลบ  ขุยมะพราว ฯลฯ
                                  2.2)ใหน้ําแบบประหยัด ตามเวลาที่พืชตองการ ใหน้ําแบบเฉพาะในรอง (Furrow) ซึ่ง

                       เปนรองน้ําขนาดเล็กระหวางแถวปลูกพืช โดยใหน้ําไหลไปตามความลาดเทของรอง ใหน้ําแบบตักรด

                       (Pouring)  ตองใชแรงงานมาก ใชเวลานานชวงวิกฤตที่พืชขาดน้ําไมได ไดแก ระยะตนออน ออกดอก

                       และระยะติดฝก ออกผล



                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129