Page 53 - ผลงานการถอดบทเรียนการจัดการดินเพื่อปลูกพืชสมุนไพร : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 53

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                  51



       8. ในการเพิ่มผลผลิตพืชในชุดดินพื้นที่ทางการเกษตรของท่าน ท่านได้ใช้ความรู้ ทักษะ หรือพฤติกรรมอะไร และ

       ท าอย่างไร ท าให้ประสบความส าเร็จ เช่น การจัดการดิน การดูแลรักษาแปลง แหล่งน้ าที่ใช้ ระยะเก็บเกี่ยวผลผลิต

              เมื่อปี 2565 มีการรวมกลุ่มในรูปแบบเกษตรแปลงใหญ่ มีสมาชิก 30 ราย สถานีพัฒนาที่ดินเลย สาธิตการท า

       ปุ๋ยหมัก น้ าหมักชีวภาพ สนับสนุนถังหมัก กากน้ าตาล และโดโลไมท์ ช่วยในการปรับสภาพดินให้พืช นอกจากนั้น
       สมาชิกใช้ปุ๋ยคอกขี้ไก่ และปุ๋ยเคมี เพื่อเร่งหัวสามารถเพิ่มผลผลิตได้ ซึ่งมีขั้นตอนการด าเนินงานดังนี้


              8.1 ข้อมูลทั่วไปของขิง  ขิงเป็นพืชล้มลุกที่มีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพร และอาหาร เป็นที่ต้องการของท้องตลาดทั้งใน
       และนอกประเทศ มีอายุเก็บเกี่ยวที่ 4 เดือนขึ้นไป สภาพพื้นที่เหมาะกับการปลูกขิงต้องปลูกในพื้นที่เย็น สูงกว่า

       ระดับน้ าทะเล 500 เมตร  ขึ้นไปยิ่งดี   สภาพดินที่ชอบเป็นดินเหนี่ยวปนทราย เพราะจะท าให้ได้ขิงที่สมบูรณ์  หัวใหญ่ เป็นที่

       ต้องการยิ่งขึ้นของท้องตลาด (รูปที่ 2)
                                                     8.2 ข้อมูลดิน

                                                         ดินที่พบในพื้นที่ คือ กลุ่มชุดดินที่ 62 พื้นที่ลาด

                                              ชันเชิงซ้อน (SC : slope complex) พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่
                                              มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มี

                                              การศึกษา ส ารวจและจ าแนกดิน เนื่องจากสภาพพื้นที่มี

                                              ความลาดชันสูง ซึ่งถือว่ายากต่อการจัดการดูแลรักษา
                                              ส าหรับการเกษตรมีความลาดชันสูงมาก ในพื้นที่ท า

                                              การเกษตรจะเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินอย่าง
                                              รุนแรง ขาดแคลนน้ าและบางพื้นที่อาจพบชั้นหินพื้นหรือ

           รูปที่ 2   แปลงผลิตขิงอ่อน         เศษหินกระจัดกระจายอยู่บริเวณหน้าดิน (รูปที่ 3)

































                                     รูปที่  3  แผนที่กลุ่มชุดดินพื้นที่ด าเนินการ
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58