Page 54 - ผลงานการถอดบทเรียนการจัดการดินเพื่อปลูกพืชสมุนไพร : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                  52






                 8.3 ปัญหาดินที่ในพื้นที่และแนวทางการแก้ไข


                    1) ปัญหาความลาดชัน ในกรณีที่พื้นที่มีความลาดชันสูง ไถพรวนไม่ได้ ก็มีการก าจัดวัชพืชให้พื้นที่โล่งเตียน
          แนวทางแก้ไขใช้แรงงานคนในการเตรียมดินปลูกขิง


                    2) ปัญหาความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า เนื่องจากเป็นพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนมีข้อจ ากัด ประกอบกับการใช้
          ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรเป็นเวลานาน ขาดการปรับปรุงบ ารุงดิน


                      แนวทางการแก้ปัญหา

                       (2.1) เก็บตัวอย่างดินเพื่อตรวจวิเคราะห์หาธาตุอาหารพืช เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการดินและปุ๋ย


                       (2.2) การใส่ปุ๋ยหมัก น้ าหมักชีวภาพ เพื่อปรับปรุงบ ารุงดิน

                       (2.3) มีการพักแปลงปลูกเพื่อป้องกันการเกิดโรค


                    3) ปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่มีความลาดชัน เมื่อเวลาฝนตกลงมาท าให้เกิด

          การชะล้างพังทลายของดิน

                      แนวทางการแก้ปัญหา


                      (3.1) การปลูกแถบหญ้าแฝกป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน

                      (3.2) การใช้ใบหญ้าแฝก หรือปลูกพืชคลุมดินเพื่อลดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน


                   4) ปัญหาดินกรด จากการเก็บตัวอย่างดินตรวจวิเคราะห์ในช่วงแรกๆ พบว่า ดินในแปลงเกษตรกรดินเป็น

          กรดจัด  (pH3.5) รวมทั้งใช้ปุ๋ยเคมีหรือสารเคมีต่างๆ ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ท าให้ดินมีค่าความเป็นกรดส่งผลให้
          ธาตุอาหารถูกตรึงไว้ในดินพืชไม่สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้


                     แนวทางการแก้ปัญหา

                     (4.1) การเก็บตัวอย่างดินเพื่อตรวจสอบค่าวิเคราะห์ดินเพื่อเป็น แนวทางในการแก้ปัญหาดินกรด


                     (4.2) การใส่โดโลไมท์ ปริมาณ 300 กิโลกรัมต่อไร่ ตามค าแนะน าจากผลวิเคราะห์ดิน

                     (4.3) การใส่ปุ๋ยหมักเพื่อช่วยดูดซับธาตุอาหารพืชในดิน
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58