Page 35 - รายงานฉบับสมบูรณ์ แนวปฏิบัติการที่ดี (good practices) บริเวณพื้นที่ดินเค็มในประเทศไทย
P. 35
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
เจ้า ให้เป็นไปตามแนวพระราชด าริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทั้งนี้การด าเนิน
กิจกรรมดังกล่าวได้มีความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ อย่าง
ต่อเนื่อง ในรูปแบบของกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม หรือ CSR (Corporate Social Responsibility)
ซึ่งแนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียวอย่างยั่งยืน ต้องอยู่บนพื้นฐานของการอนุรักษ์และพัฒนา โดยการมีส่วน
ร่วมในหลายภาคส่วน และที่ส าคัญที่สุดคือ การมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่ เพราะสุดท้ายแล้วต้นไม้ที่ทุก
คนช่วยกันปลูก ชุมชนในพื้นที่จะเป็นผู้ได้รับประโยชน์โดยตรง สวนป่าเกดจึงเป็นกลุ่มชุมชนเข้มแข็งที่ได้เข้า
มามีบทบาท และมีส่วนร่วมในการดูแลพื้นที่สีเขียวในคุ้งบางกะเจ้าอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนมากว่าสิบปี ผล
ของพัฒนาท าให้พื้นที่แห่งนี้มีความสามารถในการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์เฉลี่ยปีละ 6,000 ตัน ผลิตก๊าซ
ออกซิเจนได้ถึง 6 ล้านตัน/วัน จนได้ชื่อว่าเป็นพื้นที่สีเขียวในเมืองที่ดีที่สุดของเอเชีย The Best Urban
Oasis of Asia จำกนิตยสำร Time Asia ฉบับ Best of Asia 2006 ท าให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการพัฒนา
ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และเป็นแหล่งโอโซนส าคัญใกล้ใจกลางมหานคร
สภำพปัญหำของพื้นที่ก่อนกำรลงมือท ำ
เนื่องจากพื้นที่ของเทคโนโลยีนี้ เดิมเป็นระบบนิเวศป่าน ้ากร่อย คือ บริเวณที่เป็นเขตติดต่อระหว่าง
น ้าทะเล (น ้าเค็ม) กับ น ้าจืด ท าให้มีการผสมกันระหว่างน ้าเค็มกับน ้าจืด ความเค็มของน ้ากร่อยอยู่ระหว่าง
0.5 – 30 ppt (part per thousand ส่วนในพัน) ในเพียงระยะเวลาไม่กี่ปีคุ้งบางกระเจ้า มีการเปลี่ยนแปลง
เกิดขึ้นหลายสิ่ง ที่เห็นได้ชัดคือ น ้าทะเลมีระยะท่วมขังในพื้นที่ยาวนานมากขึ้นจากเดิมแค่ 3-4 เดือน ใน
ปัจจุบันได้ท่วมยาวนานมากกว่า 6 เดือน เมื่อน ้าทะเลท่วมขังนานขึ้น ไม้ผลที่เกษตรกรปลูกไว้ในร่องสวน
หลายแห่ง ค่อย ๆ ยืนต้นตาย เช่น มะม่วงน ้าดอกไม้ ชมพู่มะเหมี่ยว มะพูด รวมทั้งสัตว์น ้าหลายชนิด เช่น
ปลาน ้าจืด ซึ่งไม่สามารถด ารงชีวิตในสภาพน ้าเค็มได้ ก็เริ่มทยอยตาย เมื่อปลาตายจึงไม่มีอะไรมาช่วยกิน
ลูกน ้า ส่งผลให้ปริมาณลูกน ้าในพื้นที่เพิ่มขึ้นนอกจากนี้แนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ไม่เหมาะสม จ านวน
26