Page 32 - รายงานฉบับสมบูรณ์ แนวปฏิบัติการที่ดี (good practices) บริเวณพื้นที่ดินเค็มในประเทศไทย
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





               3. ควำมยั่งยืนของกิจกรรมของแนวทำง


               ผู้ใช้ที่ดินสามารถท าให้สิ่งต่างๆ ที่ได้ปฏิบัติใช้โดยแนวทางนี้ยั่งยืนได้ โดยมีหน่วยงานของรัฐ จากศูนย์วิจัย


               และเพาะเลี้ยงสัตว์น ้าชายฝั่งเพชรบุรี ให้ค าปรึกษา


               4. จุดแข็ง / ข้อได้เปรียบของแนวทำง


               การใช้ประโยชน์ในพื้นที่ดินเค็ม ที่มีบริบทที่เปลี่ยนไปจากเดิมที่ท านาเกลือได้เพียงอย่างเดียว และท าให้


               เกิดผลกระทบจาก ปัญหาดินเค็มมากขึ้นการแก้ไขได้ยากใช้เงินลงทุนสูงมาก เมื่อใช้แนวทางนี้ท าให้ โดย



               การปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เหมาะสมกับพืช (สาหร่าย) และใช้ความเค็มไม่มาก และยังท าให้


               เกิดระบบนิเวศที่สมดุล  ดี เพิ่มมากขึ้น  ไม่มีการปล่อยน ้าเสียออกจากระบบ  สิ่งแวดล้อมจึงค่อยๆดีขึ้นมา


               จนถึงปัจจุบัน


               5. จุดอ่อน / ข้อเสียเปรียบของแนวทำงและวิธีในกำรแก้ไข


               เมื่อมีการผลิตมากขึ้น มักเกิดปัญหาการแย่งตลาด  และราคาตกต ่า  และปัญหาแรงงาน  บางช่วงมีการ


               ขาดแคลนแรงงาน  ปัญหาราคาน ้ามันแพง   การจัดตั้งกลุ่มจึงเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว เพื่อให้มี


               อ านาจต่อรอง ซื้อของและอุปกรณ์ในราคาที่ถูกลง และสามารถยกระดับมาตรฐานสินค้าได้



























                                                           23
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37