Page 65 - รายงานโครงการจัดทำเป้าหมายตัวชี้วัดความสมดุลของการจัดการทรัพยากรที่ดิน(Land Degradation Neutrality: LDN) เพื่อกำหนดมาตรการ การจัดการดินเสื่อมโทรมในระดับพื้นที่ กรณีศึกษา: จังหวัดนครนายก
P. 65

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                          55


                  ตารางที่ 19 ตัวชี้วัดความสมดุลของการจัดการทรัพยากรที่ดิน รายอำเภอ จังหวัดนครนายก
                             (LDN baseline 2552-2564)


                                                            เนื้อที่ (ไร่)
                       อำเภอ      พื้นที่เสื่อมโทรม  พื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลง  พื้นที่ไม่มีการ     รวม

                                   (Degraded)      ในทางบวก (Improve)  เปลี่ยนแปลง (Stable)

                   เมืองนครนายก      212,361              59,282                 233,762             505,405

                   บ้านนา             80,031              93,613                  51,064             224,708

                   ปากพลี            111,706              27,743                 133,110             272,559

                   องครักษ์          173,747              66,853                  82,978             323,578

                        รวม          577,845              247,491                500,914          1,326,250

































                  ภาพที่ 19 กราฟแสดงเนื้อที่ตัวชี้วัดความสมดุลของการจัดการทรัพยากรที่ดิน รายอำเภอ จังหวัดนครนายก

                  ที่มา: จากการวิเคราะห์และประเมินด้วยระบบสารภูมิสารสนเทศ

                        เมื่อนำพื้นที่เสื่อมโทรมของจังหวัดนครนายก มาจัดระดับความรุนแรงของพื้นที่เสื่อมโทรม เพื่อจัดลำดับ

                  ความสำคัญของพื้นที่ที่จะกำหนดเป้าหมายในการป้องกัน และฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรม โดยใช้มาตรการต่างๆ
                  เหมาะสมในการจัดการทรัพยากรที่ดิน นั้น พบว่า พื้นที่เสื่อมโทรมระดับรุนแรงมาก มีเนื้อที่ 5,988  ไร่ หรือคิด

                  เป็นร้อยละ 1.04 ของพื้นที่เสื่อมโทรม โดยพบอยู่ในอำเภอองครักษ์ มีเนื้อที่ 3,608 ไร่ รองลงมาคือ อำเภอเมือง
                  นครนายก มีเนื้อที่ 1,706 ไร่ ตามลำดับ พื้นที่มีระดับความรุนแรงปานกลาง และระดับความรุนแรงน้อย มีเนื้อ
                  ที่ 84,051 และ 487,806 ไร่ ตามลำดับ และคิดเป็นร้อยละ 14.54 และ 84.42 ของพื้นที่เสื่อมโทรม ตามลำดับ

                  (ตารางที่ 20 ตารางที่ 21) อย่างไรก็ตามจะ พบว่า พื้นที่เสื่อมโทรมของจังหวัดนครนายก มีพื้นที่มีความเสื่อมโทรม
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70