Page 18 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตรัง
P. 18
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
13
ตารางที่ 6 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตปาล์มน้ ามัน
ยางพารา (ไร่) ข้าว (ไร่)
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
กันตัง 4,839 - 4,839 27 - 27
นาโยง 9,046 - 9,046 324 - 324
ปะเหลียน 22,266 - 22,266 64 6 70
เมืองตรัง 17,870 - 17,870 325 - 325
ย่านตาขาว 4,403 - 4,403 245 6 251
รัษฎา 7,245 - 7,245 35 - 35
วังวิเศษ 10,718 - 10,718 - - -
สิเกา 2,855 - 2,855 - - -
ห้วยยอด 16,430 - 16,430 243 - 243
หาดส าราญ 883 - 883 - - -
รวม 96,555 - 96,555 1,263 12 1,275
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้
เกษตรกรปลูกปาล์มน้ ามันต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและ
ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกปาล์มน้ ามันในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอด
โครงการที่ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
พื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือ พื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามัน
ในที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกปาล์มน้ ามัน ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกปาล์มน้ ามัน
ที่ส าคัญของจังหวัด กระจายอยู่ในอ าเภอสิเกา อ าเภอวังวิเศษ และอ าเภอห้วยยอด
พื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือ พื้นที่ปลูก
ปาล์มน้ ามันในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกปาล์มน้ ามัน เช่น ความอุดม
สมบูรณ์ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง และแหล่งน้ า กระจายอยู่ในอ าเภอวังวิเศษ อ าเภอสิเกา และ
อ าเภอห้วยยอด
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
เข้าโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เช่น ท าการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า
โดยพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย