Page 14 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตรัง
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                9







                                 ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
                               เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่าพื้นที่ที่ควร

                       พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามัน (S3) 14,022 ไร่
                       และพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 2,140 ไร่ (ตารางที่ 4)

                       ตารางที่ 4  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตยางพารา

                                                  ปาล์มน  ามัน (ไร่)                  ข้าว (ไร่)
                        อ าเภอ
                                                  S3       N         รวม        S3          N        รวม

                        กันตัง                   705        -        705        27           -        27
                        นาโยง                     61        -         61       327          50       377
                        ปะเหลียน                2,608       -      2,608        63        820        883

                        เมืองตรัง                434        -        434       328           -       328
                        ย่านตาขาว                985        -        985       246           -       246
                        รัษฎา                    438        -        438        35           -        35

                        วังวิเศษ                2,245       -      2,245          -          -          -
                        สิเกา                   2,182       -      2,182          -          -          -
                        ห้วยยอด                 1,668       -      1,668       244           -       244
                        หาดส าราญ               2,696       -      2,696          -          -          -

                              รวม             14,022        -     14,022     1,270        870      2,140

                               4) แนวทางการจัดการ

                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้
                       เกษตรกรปลูกยางพาราต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผล
                       ผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่

                       ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือ พื้นที่ปลูกยางพาราใน
                       ที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกยางพารา ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกยางพาราที่ส าคัญ
                       ของจังหวัด กระจายอยู่ในอ าเภอห้วยยอด อ าเภอวังวิเศษ และอ าเภอปะเหลียน เป็นต้น

                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือ พื้นที่ปลูกยางพารา
                       ในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกข้าว เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความเป็นกรด
                       เป็นด่าง และแหล่งน้ า กระจายอยู่ในอ าเภอปะเหลียน อ าเภอย่านตาขาว และอ าเภอวังวิเศษ เป็นต้น

                                 (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
                       เข้าโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เช่น ท าการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า
                       โดยพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19