Page 17 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตรัง
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
12
ตารางที่ 5 (ต่อ)
เนื อที่ชั นความเหมาะสม (ไร่)
อ าเภอ ประเภทพื นที่ รวม
S1 S2 S3 N
วังวิเศษ พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 106,532 120,784 18,295 20,878 266,489
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 20,313 24,086 3,321 1,846 49,566
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (19.07%) (19.94%) (18.15%) (8.84%) (18.6%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ 86,219 96,698 - - 182,917
(80.93%) (80.06%) - - (68.64%)
สิเกา พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 88,394 48,673 25,650 36,426 199,143
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 26,220 13,317 6,650 3,260 49,447
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (29.66%) (27.36%) (25.93%) (8.95%) (24.83%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ 62,174 35,356 - - 97,530
(70.34%) (72.64%) - - (48.97%)
ห้วยยอด พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 174,250 62,693 58,523 39,385 334,851
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 20,056 6,333 4,523 522 31,434
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (11.51%) (10.10%) (7.73%) (1.33%) (9.39%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ 154,194 56,360 - - 210,554
(88.49%) (89.90%) - - (62.88%)
หาดส าราญ พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 5,045 24,914 12,067 7,201 49,227
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 472 3,085 2,886 16 6,459
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (9.36%) (12.38%) (23.92%) (0.22%) (13.12%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ 4,573 21,829 - - 26,402
(90.64%) (87.62%) - - (53.63%)
รวมทั ง พื นที่ศักยภาพของที่ดิน 857,999 403,735 338,425 222,668 1,822,827
จังหวัด (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื นที่เพาะปลูกในชั นความ 108,464 60,459 30,519 6,431 205,873
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (12.64%) (14.97%) (9.02%) (2.89%) (11.29%)
พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ 749,535 343,276 - - 1,092,811
(87.36%) (85.03%) - - (59.95%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่าพื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกปาล์มน้ ามัน คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกยางพารา (S3) 96,555 ไร่
และพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 1,275 ไร่ (ตารางที่ 6)