Page 15 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตรัง
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               10







                               2.2 ปาล์มน  ามัน
                           ปาล์มน้ ามันเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของตรังในล าดับที่ 2 จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)
                               1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกปาล์มน  ามัน

                                 ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 857,999 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 47.07
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอห้วยยอด 174,250 ไร่ อ าเภอเมืองตรัง 125,625 ไร่
                       และอ าเภอปะเหลียน 108,800 ไร่

                                 ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 403,735 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       22.15 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอวังวิเศษ 120,784 ไร่ อ าเภอห้วยยอด
                       62,693 ไร่ และอ าเภอสิเกา 48,673 ไร่
                                 ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 338,425 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       18.56 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอปะเหลียน 73,361 ไร่ อ าเภอห้วยยอด
                       58,523 ไร่ และอ าเภอย่านตาขาว 54,950 ไร่
                                 ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 222,668 ไร่
                               2) การวิเคราะห์พื นที่ปลูกปาล์มน  ามันในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน

                       ได้ดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 108,464 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 12.64 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายอยู่ในอ าเภอสิเกา 26,220 ไร่ อ าเภอวังวิเศษ 20,313 ไร่ และอ าเภอห้วยยอด 20,056 ไร่
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 60,459 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 14.97 ของพื้นที่ศักยภาพ

                       ปานกลาง กระจายอยู่ในอ าเภอวังวิเศษ 24,086 ไร่ อ าเภอสิเกา 13,317 ไร่ และอ าเภอห้วยยอด 6,333 ไร่
                                (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 30,519 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 9.02 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กน้อย กระจายอยู่ในอ าเภอสิเกา 6,650 ไร่ อ าเภอห้วยยอด 6,431 ไร่ และอ าเภอปะเหลียน

                       4,335 ไร่
                                   (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 6,431 ไร่
                               3) พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกปาล์มน้ ามันแต่ยังไม่ใช้พื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกปาล์มน้ ามัน และพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันในชั้น
                       ความเหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่า จังหวัดตรังมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)

                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 1,092,811 ไร่ กระจายอยู่ทั่วทุกอ าเภอ โดยอ าเภอที่มี
                       พื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ได้แก่ อ าเภอห้วยยอด 210,554 ไร่ อ าเภอวังวิเศษ 182,917 ไร่
                       อ าเภอเมืองตรัง 137,849 ไร่ และอ าเภอปะเหลียน 134,318 ไร่ โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                 (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 749,535 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 87.36 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอ าเภอห้วยยอด 154,194 ไร่ อ าเภอเมืองตรัง 112,996 ไร่ และอ าเภอปะเหลียน
                       100,586 ไร่
                                 (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 343,276 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 85.03

                       ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอ าเภอวังวิเศษ 96,698 ไร่ อ าเภอห้วยยอด 56,360 ไร่ และ
                       อ าเภอสิเกา 35,356 ไร่
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20