Page 29 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดปัตตานี
P. 29
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
22
ตารางที่ 9 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อ าเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
8,333 10,233 22,726 86,656 127,948
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 944 1,026 7,049 1,769 10,788
หนองจิก
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (11.33%) (10.03%) (31.02%) (2.04%) (8.43%)
7,389 9,207 16,596
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(88.67%) (89.97%) (12.97%)
88,957 352,163 111,956 573,652 1,126,728
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 2,299 32,596 24,568 11,339 70,802
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (2.58%) (9.26%) (21.94%) (1.98%) (6.28%)
86,658 319,567 406,225
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(97.42%) (90.74%) (36.05%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่าพื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมะพร้าว คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 11,958 ไร่ และ
พื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามัน (S3) 439 ไร่ (ตารางที่ 10)
ตารางที่ 10 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตมะพร้าว
ข้าว ปาล์มน้ ามัน
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
กะพ้อ 1,051 1 1,052 - - -
โคกโพธิ์ 3,266 9 3,275 - - -
ทุ่งยางแดง 693 2 695 - - -
ปะนาเระ 854 506 1,360 64 - 64
มายอ 2,066 - 2,066 - - -
เมืองปัตตานี - 336 336 32 - 32
แม่ลาน 579 6 585 - - -
ไม้แก่น 109 4 113 128 - 128
ยะรัง 290 - 290 5 - 5
ยะหริ่ง 1 584 585 175 - 175
สายบุรี 1,164 249 1,413 5 - 5
หนองจิก 147 41 188 30 - 30
รวม 10,220 1,738 11,958 439 - 439