Page 26 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดปัตตานี
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               19








                           2.4  มะพร้าว
                                  มะพร้าวเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดปัตตานีในล าดับที่ 4 จากฐานข้อมูลในแผนที่
                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)

                                    1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกมะพร้าว
                                     ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 88,957 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 7.89 ของพื้นที่
                       ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอยะรัง 29,604 ไร่ อ าเภอสายบุรี 9,737 ไร่ อ าเภอหนองจิก

                       8,333 ไร่ เป็นต้น
                                     ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 352,163 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 31.26
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอโคกโพธิ์ 87,974 ไร่ อ าเภอสายบุรี 46,483 ไร่
                       อ าเภอยะรัง 41,949 ไร่ เป็นต้น
                                     ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 111,956 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 9.94

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอยะหริ่ง 23,783 ไร่ อ าเภอสายบุรี 22,950 ไร่ อ าเภอ
                       หนองจิก 22,726 ไร่ เป็นต้น
                                     ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 573,652 ไร่

                                  2)  การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกมะพร้าวในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ได้ดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 2,299 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.25 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอหนองจิก 944 ไร่ อ าเภอยะรัง 537 ไร่ อ าเภอสายบุรี 310 ไร่

                       เป็นต้น
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 32,596 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 46.04 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอยะหริ่ง 14,001 ไร่ อ าเภอปะนาเระ 6,422 ไร่ อ าเภอ
                       สายบุรี 6,350 ไร่ เป็นต้น

                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 24,568 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 34.70 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กน้อย กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอหนองจิก 7,049 ไร่ อ าเภอปะนาเระ 5,543 ไร่ อ าเภอยะหริ่ง
                       4,681 ไร่ เป็นต้น
                                     (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 11,339 ไร่

                                    3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมะพร้าวแต่ไม่ใช้พื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกมะพร้าวและพื้นที่ปลูกมะพร้าวในชั้นความเหมาะสม
                       ต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่า จังหวัดปัตตานีมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และ

                       ความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 406,225 ไร่ กระจายอยู่ทั่วทุกอ าเภอ โดยอ าเภอที่มีพื้นที่
                       ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ได้แก่ อ าเภอโคกโพธิ์ 93,187 ไร่ รองลงมา ได้แก่ อ าเภอยะรัง 70,322 ไร่
                       อ าเภอสายบุรี 49,560 ไร่ และอ าเภอมายอ 45,506 ไร่ ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 86,658 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 97.42 ของ
                       พื้นที่เหมาะสมสูง พบมากในอ าเภอยะรัง 29,067 ไร่ อ าเภอสายบุรี 9,427 ไร่ อ าเภอหนองจิก 7,389 ไร่
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31