Page 19 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดระยอง
P. 19
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
12
ตารางที่ 5 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
51,813 115,561 97,056 125,540 389,970
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 2,464 10,683 2,258 66 15,471
เมืองระยอง
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (4.76%) (9.24%) (2.33%) (0.05%) (3.97%)
49,349 104,878 - - 154,227
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(95.24%) (90.76%) (39.55%)
33,095 15,382 105,997 56,471 210,945
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 939 180 1,119 16 2,254
วังจันทร์
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (2.84%) (1.17%) (1.06%) (0.03%) (1.07%)
32,156 15,202 - - 47,358
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(97.16%) (98.83%) (22.45%)
226,574 663,957 486,967 544,323 1,921,821
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 8,555 56,694 10,223 529 76,001
รวมทั้งจังหวัด
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (3.78%) (8.54%) (2.10%) (0.10%) (3.95%)
218,019 607,263 - - 825,282
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(96.22%) (91.46%) (42.94%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ
เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรง
ตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันสำปะหลัง คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน (S3+N)
15,826 ไร่ และยางพารา (S3+N) 1,448 ไร่ (ตารางที่ 6)