Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดชลบุรี
P. 32
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
25
ตารางที่ 9 (ต่อ)
ระดับความเหมาะสม
อ าเภอ ประเภทพื นที่
S1 S2 S3 N รวม
2,534,328 2,534,328
พื นที่ศักยภาพของที่ดิน - - -
(100.00%) (100.00%)
พื นที่เพาะปลูกในชั นความ 124,521 124,521
รวมทั งจังหวัด - - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (4.91%) (4.91%)
พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
4) แนวทางการจัดการ
พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้เข้า
โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกปาล์มน้ ามัน มีต้นทุนที่ต่ า
ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด
3.1 สับปะรดศรีราชา เป็นสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวีย ที่มีรูปร่างกลมรี ปลายจุกแหลม น้ าหนักผล
1.5-3.5 กิโลกรัม ก้านผลสั้น มีไส้ใหญ่ ตาค่อนข้างตื้น เปลือกผิวผลดิบมีเขียวคล้ า ผลสุกมีสีเขียว
อมเหลืองอมส้ม เนื้อละเอียด สีเหลืองอ่อน แต่จะเป็นสีเข้มในฤดูร้อน รสชาติหวานฉ่ า มีกลิ่นหอม
เก็บเกี่ยวผลผลิตได้เกือบทั้งปี เป็นพืชที่ได้รับการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical
Indication : GI) ของกรมทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งต้องเป็นสับปะรดที่ปลูกในพื้นที่ 8 อ าเภอของ
จังหวัดชลบุรี ได้แก่ อ าเภอศรีราชา อ าเภอบางละมุง อ าเภอบ่อทอง อ าเภอหนองใหญ่ อ าเภอบ้านบึง
อ าเภอสัตหีบ อ าเภอพนัสนิคม และอ าเภอเกาะจันทร์ (กรมทรัพย์สินทางปัญญา, 2549)
3.2 ทุเรียนบ่อทอง เป็นทุเรียนที่มีลักษณะเปลือกบาง เนื้อแห้งเนียนนุ่มเหนียว รสชาติหวานมัน
ละมุนลิ้น มีกลิ่นหอม เมล็ดลีบ (ส านักงานเกษตรจังหวัดชลบุรี, ม.ป.ป.) ในระยะที่ไม่สุกจนเกินไป
เนื้อจะมีความกรอบนอกนุ่มใน ปลูกที่อ าเภอบ่อทอง ส่วนใหญ่นิยมปลูกพันธุ์หมอนทอง พันธุ์ชะนี
พันธุ์ก้านยาว และพันธุ์ทองวันชัย
3.3 ขนุนหนองเหียง ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ทองประเสริฐ ซึ่งมีการปลูกในเกือบทุกต าบลของอ าเภอ
พนัสนิคม ขนุนหนองเหียงจะมีลักษณะเนื้อสีเหลืองทอง เปลือกสีเขียวมรกต เนื้อแน่นหวานกรอบ
เป็นพันธุ์ที่มีสีสวย รสชาติดี ไม่สลัดลูกทิ้งจากต้น โดยขนุนเกรดเอ น้ าหนัก 10 กิโลกรัมขึ้นไป ความแก่
ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ผลกลม สีสวย ไม่บิดเบี้ยว ไร้โรคแมลง จะมีการส่งออกไปยังประเทศจีน
ประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ ส่วนขนุนอ่อนที่ได้จากการตกแต่งผล น าไปขายตลาดภาคเหนือ และมีการเพิ่ม