Page 35 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดชลบุรี
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               28








                                 - เน้นการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เช่น จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ใน
                       พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางให้มากขึ้น

                                 - ส่งเสริมให้มีการโค่นยางพาราที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปี และปลูกยางพาราทดแทนใน
                       พื้นที่เดิม เช่นเดียวกับพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง

                                 - พัฒนาตลาดและช่องทางจัดจ าหน่ายให้มากขึ้น โดยเน้นการแปรรูปยางหรือไม้

                       ยางพาราเพิ่มมากขึ้น ซึ่งอาจเน้นจากชุมชนที่เข้มแข็งเป็นพื้นที่ต้นแบบ

                             3) พื นที่ปลูกยางพาราในพื นที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบันเกษตรกร

                       ยังคงใช้ที่ดินปลูกยางพาราอยู่ พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาซ้ าซาก เช่น น้ าท่วม ขาดน้ า ผลผลิตต่ า
                       ควรใช้มาตรการการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไปปลูกพืชอื่นที่เหมาะสมกว่า หรือพืชทางเลือก และท าการเกษตร

                       แบบผสมผสาน โดยภาครัฐต้องให้การสนับสนุน เช่น
                                 - ส่งเสริมให้มีการโค่นยางพาราที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปี และหาพืชอื่นทดแทน เช่น

                       ส่งเสริมให้ปลูกไม้ผล มะพร้าว ไผ่หวาน มันส าปะหลัง ยาสูบ แตงโม พืชไร่ และพืชผักต่าง ๆ ทดแทน

                                 - ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า หรือใช้พื้นที่
                       ผลิตพืชผัก บริโภคในครัวเรือน หรือเข้าร่วมโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map)

                       เป็นต้น

                                 - จัดหาตลาดให้กับเกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน

                             4) พื นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกยางพารา แต่ปัจจุบันเกษตรกรไม่ได้

                       ใช้พื้นที่ปลูกยางพารา โดยหันมาปลูกพืชอื่นทดแทน เช่น ปาล์มน้ ามัน อ้อยโรงงาน ข้าว เป็นต้น ในส่วนนี้
                       ภาครัฐควรให้ความรู้ความเข้าใจถึงสถานการณ์ด้านการเกษตรในปัจจุบัน โดยเฉพาะยางพารา

                       ซึ่งปัจจุบันราคาตกต่ า และตามมาตรการยุทธศาสตร์ยางพาราในปัจจุบันให้เน้นการลดพื้นที่ปลูกยางพารา
                       ฉะนั้นควรสร้างความตระหนักให้เกษตรกร เน้นการท าการเกษตรแบบผสมผสาน หรือการเข้าร่วมโครงการ

                       เกษตรทฤษฎีใหม่ หรือวนเกษตร เพื่อท าให้เกษตรกรสามารถใช้พื้นที่ได้อย่างคุ้มค่ามากที่สุด

                         4.2  มันส าปะหลัง


                             1) พื นที่ปลูกมันส าปะหลังที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกมันส าปะหลังอยู่
                       มีเนื้อที่ 48,346 ไร่ มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอ าเภอบางละมุง อ าเภอศรีราชา และอ าเภอบ้านบึง ตามล าดับ

                       ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดควรให้มีการเสนอแผนการใช้ที่ดินเพื่อสงวนให้เป็นแหล่งผลิต

                       มันส าปะหลังคุณภาพดีที่ส าคัญของจังหวัด และเพื่อให้สอดคล้องตามมาตรการยุทธศาสตร์มันส าปะหลัง
                       ปี พ.ศ. 2564-2567 ซึ่งเน้นให้เกษตรกรเข้าถึงพันธุ์มันส าปะหลังที่ต้านทานโรคใบด่างมันส าปะหลัง

                       (Cassava Mosaic Disease: CMD) ให้เชื้อแป้งสูง และมีผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ไม่ต่ ากว่า 5 ตัน ภายในปี
                       พ.ศ. 2567 ควรมีการจัดการที่เหมาะสมในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40