Page 36 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดชลบุรี
P. 36
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
29
- ส่งเสริมการท าระบบน้ าหยดในพื้นที่ที่มีศักยภาพ
- ปรับปรุงบ ารุงดิน ใส่ปุ๋ยที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
- ท าการวิเคราะห์คุณภาพดินอยู่เสมอ
- ส่งเสริมเกษตรกรแปรรูปมันส าปะหลังเพื่อเพิ่มมูลค่า อาทิ การแปรรูปมันเส้นสะอาด
- สร้างความร่วมมือระหว่างเกษตรกรและโรงงาน
- ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรเก็บเกี่ยวในช่วงอายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม
2) พื นที่ปลูกมันส าปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูกมันส าปะหลัง
อยู่ มีเนื้อที่ 169,287 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ าเภอบางละมุง อ าเภอศรีราชา และอ าเภอพนัสนิคม
ตามล าดับ เกษตรกรยังคงปลูกมันส าปะหลังได้ผลดี หลายแห่งประสบปัญหาโครงสร้างของดินหรือดินดาน
ในพื้นที่ดังกล่าวนี้ควรมีการสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต ดังนี้
- พัฒนาศักยภาพของพื้นที่ให้มากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และท าการตรวจวิเคราะห์
คุณภาพดินอยู่เสมอ
- ส่งเสริมให้มีการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
- สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่ การปลูก การดูแลรักษา
การป้องกันโรค แมลงศัตรูพืช และการเก็บเกี่ยว
- ส่งเสริมการใช้ท่อนพันธุ์ที่ต้านทานโรคและให้ผลผลิตสูง พัฒนาระบบน้ าหยด และ
การใช้น้ าจากแหล่งน้ าในพื้นที่ ให้มีการใช้ประโยชน์กับมันส าปะหลังให้มากที่สุด
- ส่งเสริมเกษตรกรแปรรูปมันส าปะหลังเบื้องต้นเพื่อเพิ่มมูลค่า อาทิ การแปรรูป
มันเส้นสะอาด
3) พื นที่ปลูกมันส าปะหลังในพื นที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบันเกษตรกร
ยังคงใช้ที่ดินปลูกมันส าปะหลังอยู่ พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาซ้ าซาก เช่น น้ าท่วม ขาดน้ า ผลผลิตต่ า
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ต้องให้การช่วยเหลือเกษตรกรในพื้นที่ดังกล่าวนี้ โดยสนับสนุนการปรับ
โครงสร้างที่ดินสนับสนุนแหล่งน้ า ให้เกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่มีความเหมาะสม ให้ผลตอบแทนที่
ดีกว่า รวมถึงการสนับสนุนข้อมูลด้านการตลาดของพืชชนิดใหม่ โดยใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ เพื่อเลือกพืช
ที่ปลูกให้เหมาะสมกับพื้นที่ อาทิ โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) รวมถึง
การส่งเสริมการจัดการดินที่เหมาะสมและถูกวิธี อาทิ การไถระเบิดดินดานก่อนเพาะปลูก
4) พื นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกมันส าปะหลัง แต่ปัจจุบันเกษตรกร
ไม่ได้ใช้พื้นที่ปลูกมันส าปะหลัง พบว่า เกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เช่น ปาล์มน้ ามัน ข้าว เป็นต้น ภาครัฐ
ควรให้ความรู้แก่เกษตรกรด้านการปรับปรุงบ ารุงดินไม่ให้เสื่อมโทรม และสร้างแรงจูงใจให้กลับมาปลูก