Page 29 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดชลบุรี
P. 29
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
22
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
เข้าโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกอ้อยโรงงาน
มีต้นทุนที่ต่ า ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
2.4 ปาล์มน ามัน
ปาล์มน้ ามันเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของชลบุรีในล าดับที่ 4 จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตร
เชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)
1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกปาล์มน ามัน พบเพียงพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) เท่านั้น
มีรายละเอียดดังนี้
ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,534,328 ไร่
2) การวิเคราะห์พื นที่ปลูกปาล์มน ามันในปัจจุบัน พบเพียงพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) เท่านั้น
โดยมีเนื้อที่ 124,521 ไร่
3) พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกปาล์มน้ ามันแต่ไม่ใช้พื้นที่ปลูก
พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกปาล์มน้ ามัน และพื้นที่ปาล์มน้ ามันในชั้นความ
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่า จังหวัดชลบุรีไม่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือ เนื่องจากจังหวัดชลบุรีไม่มี
พื้นที่ศักยภาพของที่ดินที่เหมาะสม (ระดับที่ 1 และ 2) ส าหรับการปลูกปาล์มน้ ามัน
ตารางที่ 9 พื้นที่ศักยภาพ พื้นที่ปลูกจริง พื้นที่คงเหลือของปาล์มน้ ามันรายอ าเภอ จังหวัดชลบุรี
ระดับความเหมาะสม
อ าเภอ ประเภทพื นที่
S1 S2 S3 N รวม
22,859 22,859
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - - -
(100.00%) (100.00%)
เขตการปกครอง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ
พิเศษพัทยา เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) - - - - -
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
168,075 168,075
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - - -
(100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 5,170 5,170
เกาะจันทร์ - - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (3.08%) (3.08%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -