Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดชลบุรี
P. 28
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
21
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อยโรงงาน คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามัน (N) 72,155 ไร่
และพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 7,485 ไร่ (ตารางที่ 8)
ตารางที่ 8 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตอ้อยโรงงาน
ปาล์มน ามัน (ไร่) ข้าว (ไร่)
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
เกาะจันทร์ - 1,953 1,953 1,040 - 1,040
บ่อทอง - 27,412 27,412 1,582 15 1,597
บางละมุง - 3,834 3,834 165 - 165
บ้านบึง - 8,865 8,865 657 - 657
พนัสนิคม - 381 381 1,921 - 1,921
พานทอง - 161 161 1,325 - 1,325
เมืองชลบุรี - 99 99 169 - 169
ศรีราชา - 439 439 2 48 50
สัตหีบ - 50 50 88 - 88
หนองใหญ่ - 28,961 28,961 471 2 473
รวม - 72,155 72,155 7,420 65 7,485
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้
เกษตรกรปลูกอ้อยโรงงานต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและ
ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกอ้อยโรงงานในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอด
โครงการที่ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า
เป็นต้น
พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือ พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน
ในที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกอ้อยโรงงาน ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกอ้อยโรงงาน
ที่ส าคัญของจังหวัด โดยกระจายอยู่ที่อ าเภอหนองใหญ่
พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือ พื้นที่ปลูก
อ้อยโรงงานในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกอ้อยโรงงาน เช่น ความอุดมสมบูรณ์
ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง ความชื้น โดยกระจายอยู่ในอ าเภอบ้านบึง อ าเภอบ่อทอง อ าเภอ
หนองใหญ่ เป็นต้น