Page 29 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบุรี
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               22







                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด

                           พืชที่มีชื่อเสียงของจังหวัดขึ้นทะเบียนเปนสินคาสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร Geographical
                       Indications: GI ไดแก ชมพูเพชร และมะนาวเพชรบุรี

                            3.1 ชมพูเพชร หมายถึงชมพูพันธุเพชรสายรุง ที่ปลูกในพื้นที่อําเภอเมืองเพชรบุรี อําเภอทายาง
                       อําเภอบานลาด และอําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี  มีลักษณะพิเศษเฉพาะคือ ผิวเรียบ สีเขียว

                       ออน ทรงผลคลายระฆังคว่ํา ตรงกลางปองเล็กนอย ผลแกจัดจะมีเสนสีแดงและเสนสีเขียว เนื้อภายใน
                       สีขาว แข็งกรอบ รสชาติหวาน ดวยลักษณะพื้นที่ของจังหวัดเพชรบุรีเปนภูเขาและที่ราบสูงดาน

                       ทิศตะวันตก และลาดลงมาดานทิศตะวันออก ตรงกลางจังหวัดเปนที่ราบลุม มีแมน้ําเพชรบุรีไหลผาน
                       ลักษณะดินเปนดินรวนปนทรายที่เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ํา สภาพอากาศอบอุนตลอดทั้งป
                       มีความเหมาะสมกับการปลูกชมพู ประกอบกับความชํานาญในการดูแลจัดการตนและผลผลิตชมพู

                       จึงทําใหชมพูมีคุณภาพดี จากขอมูลของสํานักงานเกษตรจังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2563  มีพื้นที่ปลูก
                       ประมาณ 200 ไร ผลผลิตรวม 195 ตันตอป การขยายพื้นที่ปลูกนอกจากปจจัยเรื่องดินและน้ํายังเปน

                       เรื่องสําคัญที่ตองพิจารณากอนปลูกแลว ตนทุนการผลิตในการดูแลรักษาชมพูแบบประณีต ยังเปนอีก
                       ปจจัยที่สําคัญมากเชนกัน

                           3.2 มะนาวเพชรบุรี เปนมะนาวพันธุมะนาวแปน พันธุมะนาวไข พันธุมะนาวหนัง ลักษณะเดนคือ
                       ผิวเปลือกบาง มี 8-12  กลีบ เนื้อสีเหลืองออน รสเปรี้ยว กลิ่นหอมมะนาว ปลูกมากในพื้นที่

                       อําเภอทายาง อําเภอแกงกระจาน อําเภอบานลาด  จากขอมูลของสํานักงานเกษตรจังหวัดเพชรบุรี
                       พ.ศ. 2563 มีพื้นที่ปลูกประมาณ 39,773 ไร ผลผลิตเฉลี่ย 68,551 ตันตอป จังหวัดเพชรบุรีเปนแหลง
                       ผลิตมะนาวที่สําคัญของประเทศ มีตลาดกลางในการรับซื้อและสงขายมะนาวไปทั่วประเทศ มะนาว

                       สามารถเจริญเติบโตไดในสภาพแวดลอมที่หลากหลาย ปจจัยเรื่องดินที่ตองพิจารณาคือ ดินมีการ
                       ระบายน้ําดี คาความเปนกรด-ดาง 5.5-6.0 มีอินทรียวัตถุ และควรจัดเตรียมแหลงน้ําเนื่องจากระยะ

                       ออกดอกและติดผลออนเปนชวงที่มะนาวตองการน้ําคอนขางมาก

                         3.3 พืชสมุนไพร
                              ดวยนโยบายของรัฐบาลที่ใหการสนับสนุนแนวคิด BCG (Bio-Circular-Green Economy)

                       หรือ เศรษฐกิจชีวภาพ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พืชสมุนไพรเปนเรื่องหนึ่งที่ไดรับความ
                       สนใจ เนื่องจากเปนแหลงของสารสําคัญที่นําไปใชประโยชนในดานตาง ๆ เชน การแพทย ผลิตภัณฑ

                       เสริมอาหาร และเครื่องสําอาง จึงสนับสนุนใหพืชสมุนไพรเปนพืชทางเลือกในป 2564 โดยดําเนินการ
                       ภายใตตลาดนําการผลิต และหากทิศทางของตลาดสมุนไพรขยายตัวเพิ่มมากขึ้นจะชวยใหเกษตรกร

                       ผูปลูกพืชสมุนไพร มีรายไดและความมั่นคงในการดํารงชีพ จากฐานขอมูล Agri-Map Online จังหวัด
                       เพชรบุรีมีพื้นที่ศักยภาพที่สามารถสงเสริมใหปลูกพืชสมุนไพรไดหลายชนิด เชน บัวบก ขมิ้นชัน
                       เปนตน

                                 บัวบก เจริญเติบโตไดดีในชวงอุณหภูมิ 25  -  30  องศาเซลเซียส ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย
                       1,200  –  1,500  มิลลิเมตรตอป สภาพดินรวนปนทราย ชื้นแฉะ ระบายน้ําดี  โดยในพื้นที่
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34