Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบุรี
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               25







                         4.2  ออยโรงงาน
                             (1) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงานอยู
                       มีเนื้อที่ 4,964 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอชะอํา อําเภอทายาง และอําเภอเขายอย ตามลําดับ

                       ตามแผนยุทธศาสตร สํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย พ.ศ. 2560 - 2564 มียุทธศาสตร
                       สงเสริม สนับสนุนการวิจัย การบริหารจัดการ  และการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เนนใหมีการเพิ่ม

                       ผลผลิตออยโรงงานในพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง แตเนนการลดตนทุนผลผลิต โดยสงเสริมใหเกษตรกรใชปุย
                       อินทรียแบบคุณภาพสูง และมีการเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยการรณรงคลดการเผาตอซังเพื่อเพิ่มผลผลิต

                       และลดปญหาภาวะโลกรอน สนับสนุนใหหนวยงานที่เกี่ยวของคิดคนเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวโดยใช
                       เครื่องจักรเพื่อลดปญหาแรงงาน สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุม และเขารวมโครงการเกษตรแปลงใหญ

                       จัดหาปจจัยการผลิตใหกับเกษตรกร และอบรมใหความรูแกเกษตรกรที่มีการปรับปรุงบํารุงดินโดยลด
                       ตนทุนการผลิต รวมทั้งสงเสริมใหมีการปลูกออยโรงงานที่มีสายพันธุตานทานโรค สรางความตระหนัก
                       และความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรที่มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงในการปลูกออยโรงงาน เพื่อแกไข

                       ปญหาการปรับเปลี่ยนพื้นที่
                              (2) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก

                       ออยโรงงานอยู มีเนื้อที่ 255 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอชะอํา อําเภอเขายอย และอําเภอบานลาด
                       เกษตรกรยังคงปลูกออยโรงงานไดผลดี ควรสรางความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่

                       การปลูก การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว รวมทั้งสงเสริมการเพิ่มมูลคาของเสียจากโรงงานน้ําตาล
                       และการนําของเสียจากโรงงานน้ําตาลในการปรับปรุงบํารุงดินในไรออย เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดตนทุน

                       ใหแกเกษตรกรชาวไรออย โดยไมมีผลเสียตอสุขภาพ  สิ่งแวดลอม และชุมชนชาวไรออย
                                (3) พื้นที่ปลูกออยโรงงานในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3  และ N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกออยโรงงานอยู 61,183 ไร พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา

                       ผลผลิตต่ํา กระทรวงเกษตรและสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุน
                       เกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตพืชผัก บริโภคในครัวเรือน

                       หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) รวมถึงการจัดหาตลาดใหกับ
                       เกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน
                              (4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกออยโรงงานแตเกษตรกร หันมา

                       ปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ปาลมน้ํามัน มะพราว ไมผล ไมยืนตน มันสําปะหลัง หรือพืชไรอื่น ๆ
                       ควรสรางความเขาใจใหกับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบํารุงดินไมให

                       เสื่อมโทรม หากเกษตรกรตองการกลับมาใชพื้นที่ปลูกออยโรงงานเหมือนเดิม จะไดไมตองมีตนทุนการ
                       ผลิตสูงในการปรับปรุงบํารุงดิน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37