Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบุรี
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               24







                       4  แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                         4.1  ขาว
                             (1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 301,189 ไร

                       อยูในเขตอําเภอเมืองเพชรบุรี อําเภอบานลาด อําเภอเขายอย อําเภอทายาง อําเภอชะอํา และอําเภอบาน
                       แหลม พื้นที่ทั้ง 6 อําเภอ ตั้งอยูในเขตชลประทาน ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัด

                       สมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิตขาวที่สําคัญของจังหวัด และมีการ
                       บริหารจัดการน้ําชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว มีการรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนา

                       ตอยอดครบวงจรดานการตลาดในและตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํา
                       มาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural  Practices:
                       GAP) เนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูงการปลูกพืชหลังนาจะชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปน

                       การปรับปรุงบํารุงดิน ทั้งนี้ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาพื้นที่นี้เปนพื้นที่
                       ที่มีความเหมาะสมตอการปลูกขาวจึงไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีถา

                       ตองการเปลี่ยนชนิดพืชควรเปนพืชไร เพื่อที่ในอนาคตจะไดกลับมาทํานาไดอีก
                             (2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่

                       33,785  ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอบานแหลม อําเภอทายาง อําเภอเขายอย และกระจายทุกอําเภอ
                       เปนพื้นที่ปลูกขาวที่มีขอจํากัดไมมากนัก เกษตรกรยังคงปลูกขาวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ํา

                       ในบางชวงของการเพาะปลูก  ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ํา เชน ชลประทาน จะสรางความ
                       มั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มี
                       ความเหมาะสมสําหรับการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และ

                       ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หาก
                       ขาวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร เพื่อที่ในอนาคตยังสามารถกลับมาทํานาได

                       อีก
                             (3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3  และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน
                       ปลูกขาวอยู มีประมาณ 58,248 ไร ซึ่งประสบปญหาซ้ําซากน้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวง

                       เกษตรและสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม
                       โดยสนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิด

                       ใหมที่มีความเหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือ
                       เขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน

                             (4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมได
                       ใชพื้นที่ปลูกขาว โดยมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน เชน มะพราว ออยโรงงาน ปาลมน้ํามัน ทั้งนี้หากพืช

                       ที่ปลูกเปนพืชไร หากในอนาคตขาวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวไดเหมือนเดิม แตหากเปนไม
                       ผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริมในเรื่องของการทําเกษตร
                       รูปแบบอื่น เชน ทําการเกษตรแบบผสมผสานทดแทน
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36