Page 25 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบุรี
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               18







                                   ทั้งนี้ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1)  และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                     เมื่อวิเคราะหขอมูล พบวาพื้นที่ที่ควรมีการพิจารณาใหปรับเปลี่ยนไปปลูกสับปะรด

                       โรงงาน คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกออยโรงงาน (S3)  58,870  ไร  ขาว (S3+N)   58,034  ไร พื้นที่ปลูก
                       ปาลมน้ํามัน (S3+N)  10,819  ไร  พื้นที่ปลูกยางพารา (S3+N)  4,771  ไร พื้นที่ปลูกมะพราว (S3+N)

                       4,521  ไร   และพื้นที่ปลูกขาวโพด (S3+N)  2,244  ไร  โดยอําเภอที่มีศักยภาพในการขยายการผลิต
                       สับปะรดโรงงาน รายละเอียดดังตารางที่ 8


                       ตารางที่ 8  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตสับปะรดโรงงาน

                                                     ขาว                           ออยโรงงาน
                           อําเภอ
                                         S3          N          รวม          S3          N        รวม
                       ชะอํา              5,903      763        6,666       26,534      -        26,534
                       ทายาง             5,401      592        5,993       19,858      -        19,858
                       บานลาด           19,213       29       19,242          81       -           81
                       เขายอย           22,350       89       22,439        1,901      -         1,901
                       บานแหลม              -         -            -            -      -             -
                       แกงกระจาน          726        96         822          852       -          852
                       หนองหญาปลอง       798       567        1,365        9,644      -         9,644

                       เมืองเพชรบุรี         -     1,507        1,507                   -             -
                            รวม         54,391     3,643       58,034      58,870       -        58,870
                             4) แนวทางการจัดการ

                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1  หรือ S2) ควรสนับสนุนให
                       เกษตรกรปลูกสับปะรดโรงงานตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิต
                       และไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกสับปะรดโรงงานในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอ

                       ยอดโครงการที่สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย เกษตรแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกสับปะรดโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูก
                       สับปะรดโรงงานในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพ ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกสับปะรดโรงงานที่
                       สําคัญของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอทายาง อําเภอชะอํา และอําเภอบานลาด

                                 พื้นที่ปลูกสับปะรดโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       สับปะรดโรงงานในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการ เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความ
                       เปนกรดเปนดาง ความชื้น โดยกระจายอยูในอําเภอชะอํา อําเภอหนองหญาปลอง และอําเภอทายาง
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3  หรือ N) ควรสนับสนุนให

                       เขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูก
                       สับปะรดโรงงาน มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อ
                       รวมดวย
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30