Page 26 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบุรี
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               19







                           2.4  มะพราว
                                 มะพราวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของเพชรบุรีในลําดับที่ 4 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตร
                       เชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และ ภาพที่ 12 - 13)

                                  1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกมะพราว พบเพียงพื้นที่ที่เหมาะสมเล็กนอย (S3)
                       และพื้นที่ไมเหมาะสม (N)  เทานั้น รายละเอียดดังนี้

                                   ระดับที่ 3 พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 624,213 ไร กระจายอยูในอําเภอทายาง
                       201,533 ไร อําเภอชะอํา 190,177 ไร อําเภอแกงกระจาน 66,382 ไร และอําเภอเขายอย 64,087 ไร
                                   ระดับที่ 4 พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 840,686 ไร

                                  2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมะพราวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของ
                       ที่ดินไดดังนี้

                                   (1) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 4,426 ไร คิดเปนรอยละ 6.89  ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายอยูในอําเภอบานแหลม 1,920 ไร อําเภอบานลาด 302 ไร และอําเภอเขายอย
                       191 ไร เปนตน
                                   (2) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) ในการปลูกมะพราว มีเนื้อที่ 15,761 ไร


                                 3) พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมะพราวแตไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมะพราว และพื้นที่ปลูกมะพราวในชั้นความ
                       เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวา จังหวัดเพชรบุรีไมมีพื้นที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสม
                       สูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) จึงไมมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในการปลูกมะพราว
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31