Page 33 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบุรี
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               26







                         4.3  สับปะรดโรงงาน
                             (1) พื้นที่ปลูกสับปะรดโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกสับปะรด
                       โรงงานอยู มีเนื้อที่ 2,547 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอชะอํา อําเภอทายาง และอําเภอ

                       แกงกระจาน ตามลําดับ ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใช
                       ที่ดินเพื่อสงวนใหเปนพื้นที่ปลูกสับปะรดโรงงานที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ําอยางดี

                       รวมทั้งการจัดการดินและปุยตามมาตรฐาน สงเสริมใหมีการใชปุยใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ใชพันธุ
                       สับปะรดโรงงานที่ไดรับการรับรอง สนับสนุนการรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ สรางเครือขายใน

                       รูปแบบของสหกรณหรือกลุมเกษตรกรหรือวิสาหกิจชุมชน กับโรงงานแปรรูปสับปะรด ใหความรูเรื่อง
                       การเก็บเกี่ยวสับปะรดโรงงานที่ไดคุณภาพ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและพัฒนาใหเกษตรกร

                       เพาะปลูกตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) เนื่องจากสับปะรดเปนพืชไรอายุยาว สามารถปลูก
                       ไดนาน 1 - 3 ป จึงควรประชาสัมพันธ ใหความรูแนวทางการบริหารจัดการสับปะรดโรงงานใหแก
                       เกษตรกรอยางถูกวิธี

                             (2) พื้นที่ปลูกสับปะรดโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกสับปะรด
                       โรงงานอยู มีเนื้อที่ 20,065 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอหนองหญาปลอง อําเภอชะอํา และอําเภอ

                       ทายาง ตามลําดับ เกษตรกรยังคงปลูกสับปะรดไดผลดี ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ํา เชน
                       ชลประทาน แหลงน้ําในไรนานอกเขตชลประทาน ใชปจจัยการผลิตในอัตราและชวงเวลาที่เหมาะสม

                       สนับสนุนพันธุสับปะรดโรงงานที่ไดรับการรับรอง จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรผูปลูกสับปะรด
                       โรงงาน  และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกร ประชาสัมพันธ ใหความรูแนวทางการ

                       บริหารจัดการสับปะรดโรงงานใหแกเกษตรกร พรอมทั้งแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิด
                       อื่น หรือถาตองการเปลี่ยนชนิดพืชควรเปนพืชที่มีผลตอบแทนดีกวาและมีตนทุนต่ํากวา
                             (3) พื้นที่ปลูกสับปะรดโรงงานในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3  และ N) และปจจุบัน

                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกสับปะรดโรงงานอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม
                       ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวงเกษตรและสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้

                       โดยสนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ประชาสัมพันธ ใหความรู
                       แนวทางการบริหารจัดการใหแกเกษตรกร ทั้งนี้เกษตรกรสามารถเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม
                       และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการ

                       พื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                             (4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกสับปะรดโรงงาน แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูก โดยหันมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน เชน ขาว ออยโรงงาน ปาลมน้ํามัน
                       มะพราว ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปนพืชไร ในอนาคตสามารถกลับมาปลูกสับปะรดโรงงานไดอีก แตหาก

                       เปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกสับปะรดโรงงานอีกครั้งอาจเปนเรื่องยาก โดยเฉพาะการปลูก
                       ไมผล เชน ทุเรียน ที่ปจจุบันราคาดี แตทั้งนี้ตองพิจารณาตนทุนการผลิตและการตลาดรวมดวย
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38