Page 48 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               41







                       ควรจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชไร หรือพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน ใหการ
                       ชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภค
                       ในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกมันสำปะหลังแตเกษตรกร หันมา
                       ปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ปาลมน้ำมัน มะพราว ไมผล ไมยืนตน หรือพืชไรอื่นๆ เชนขาวโพดเลี้ยงสัตว

                       ควรสรางความเขาใจใหกับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบำรุงดินไมใหเสื่อมโทรม

                         4.4  ออยโรงงาน
                             1) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงานอยู

                       มีเนื้อที่ 553 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอำเภอขุขันธ อำเภอภูสิงห และอำเภอน้ำเกลี้ยง ตามลำดับ
                       ทั้งนี้ตามแผนยุทธศาสตร สำนักงานคณะกรรมการออยและน้ำตาลทราย พ.ศ. 2560 - 2564 มี

                       ยุทธศาสตรสงเสริม สนับสนุนการวิจัย การบริหารจัดการ และการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต
                       อุตสาหกรรม ออยน้ำตาลทราย และอุตสาหกรรม เนนใหมีการเพิ่มผลผลิตออยโรงงานในพื้นที่ที่มี

                       ศักยภาพสูง ลดตนทุนผลผลิต โดยควรสงเสริมใหเกษตรกรใชปุยอินทรียแบบคุณภาพสูง การเก็บเกี่ยว
                       ผลผลิตโดยการรณรงคลดการเผาตอซังเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดปญหาภาวะโลกรอน การสงเสริมให
                       เกษตรกรรวมกลุมและเขารวมโครงการเกษตรแปลงใหญ การจัดหาปจจัยการผลิตใหกับเกษตรกร

                       และอบรมใหความรูแกเกษตรกรที่มีการปรับปรุงบำรุงดินโดยลดตนทุนการผลิต การสงเสริมใหมีการ
                       ปลูกออยโรงงานที่มีสายพันธุตานทานโรค การสรางความตระหนักและความรูความเขาใจใหกับ

                       เกษตรกรที่มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง ในการปลูกออยโรงงาน เพื่อแกไขปญหาการปรับเปลี่ยนพื้นที่
                             2) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงานอยู

                       มีเนื้อที่ 15,566 ไร สวนใหญอยูในเขตอำเภอปรางคกู อำเภอภูสิงห และอำเภอหวยทับทัน เกษตรกร
                       ยังคงปลูกออยโรงงานไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ำในบางชวงของการเพาะปลูก

                       ควรพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และ การบริหารจัดการน้ำใหมี
                       เพียงพอและเหมาะสมตอการเพาะปลูก สรางความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่
                       การปลูก การดูแลรักษา จนถึงการเก็บเกี่ยว และสงเสริมการเพิ่มมูลคาของเสียจากโรงงานน้ำตาล

                       และการนําของเสียจากโรงงานน้ำตาลไปใชในการปรับปรุงบำรุงดินในไรออย เพื่อเพิ่มผลผลิตและ
                       ลดตนทุนใหแกเกษตรกรชาวไร ออยโดยไมมีผลเสียตอสุขภาพ  สิ่งแวดลอม และชุมชนชาวไรออย

                             3) พื้นที่ปลูกออยโรงงานในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกออยโรงงานอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาน้ำทวมซ้ำซาก ขาดน้ำ ผลผลิตต่ำ

                       ควรจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน และใหการ
                       ชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตพืชผัก บริโภคใน

                       ครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53