Page 43 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               36







                                 พื้นที่ปลูกออยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       ออยโรงงานในที่ดินที่มีขอจำกัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกออยโรงงาน เชน ความอุดมสมบูรณ
                       ของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น โดยกระจายอยูในอำเภอกันทรลักษ อำเภอขุขันธ และอำเภอ
                       กันทรลักษ เปนตน

                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกออยโรงงาน มีตนทุนที่ต่ำ
                       และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด


                              จังหวัดศรีสะเกษมีสินคาโดดเดนที่แสดงถึงความเปนอัตลักษณของพื้นที่ และจดทะเบียน
                       สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical Indicator) หรือ สินคา GI เพื่อประโยชนตอการสรางมูลคาเพิ่ม
                       ใหกับสินคา รักษาไวซึ่งเอกลักษณเฉพาะถิ่น การพัฒนาและคงไวซึ่งคุณภาพสินคา รวมถึงปองกัน

                       การลอกเลียนแบบจากคูแขงทางการคาในพื้นที่อื่น ไดแก ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ (GI) หอมแดง
                       ศรีสะเกษ (GI) กระเทียมศรีสะเกษ (GI) ขาวหอมมะลิทุงกุลารองไห (GI) และมีไมผลสำคัญที่มีคุณภาพ

                       เชน เงาะ มังคุด ลองกอง เปนตน

                              3.1 ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ (GI) เริ่มมีการปลูกตั้งแตป 2531 จากการที่เกษตรกรมองเห็น
                       ถึงสภาพพื้นที่เขตอำเภอขุนหาญ อำเภอกันทรลักษ และอำเภอศรีรัตนะ คลายคลึงกับจังหวัดจันทบุรี

                       ทุเรียนศรีสะเกษเจริญเติบโตไดเร็วใหผลผลิตคอนขางดีและมีคุณภาพ เนื่องจากบริเวณที่ปลูกเปนดินที่
                       เกิดจากหินภูเขาไฟ ผุพังมาจากหินบะซอลต ระบายน้ำไดดี มีแรธาตุที่จำเปนกับพืชในปริมาณสูง ทาง
                       จังหวัดมีนโยบายสงเสริมการใหความรูแกกลุมผูปลูกทุเรียน การพัฒนาพื้นที่ การควบคุมดูแลการผลิต
                       ทำใหลูกทุเรียนมีความสม่ำเสมอและมีคุณภาพ และการประชาสัมพันธ เพื่อสรางสรรคอัตลักษณให

                       เกิดมูลคาเพิ่มในทัศนคติที่ดีตอสินคาภายใตตราสินคา “ทุเรียนภูเขาไฟ” พิจารณาจากพื้นที่ในการ
                       สงเสริมการปลูกทุเรียนภูเขาไฟ ในอำเภอขุนหาญ อำเภอกันทรลักษและอำเภอศรีรัตนะ มีพื้นที่
                       ศักยภาพคงเหลือในพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 433,349 ไร  แยกเปน อำเภอขุนหาญ
                       137,704 ไร อำเภอกันทรลักษ 262,414 ไร และอำเภอศรีรัตนะ 33,231 ไร

                              3.2 หอมแดงศรีสะเกษ (GI) และกระเทียมศรีสะเกษ (GI) เปนที่รูจักของผูบริโภค
                       มาอยางยาวนาน ดวยสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศที่มีความเหมาะสมกับการปลูกที่เปนดินมูลทราย
                       จากดินตะกอนลุมน้ำของลำน้ำมูลและลำน้ำชีที่ทับถม เมื่อนำมาผสมกับดินโพนหรือดินจอมปลวกตาม
                       เทคนิคการเพาะปลูกที่ถายทอดรุนสูรุนทำใหหอมแดงศรีสะเกษมีเปลือกแหงมัน สีแดงเขมปนมวง

                       หัวมีลักษณะกลม มีกลิ่นฉุน แหลงปลูกใหญอยูที่อำเภอยางชุมนอย ในสวนของกระเทียมศรีสะเกษ
                       มีชื่อเสียงและเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่น ลักษณะเดน คือ เปลือกนอกสีขาวแกมมวง เปลือกบาง หัวแนน
                       กลิ่นฉุน รสเผ็ดรอน สามารถเก็บรักษาไวไดนานไมฝอ ทั้งสองเปนสินคาชูโรงสรางรายไดเขาสูจังหวัด

                       ดังคำขวัญจังหวัดที่วา “แดนปราสาทขอม หอมกระเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลำดวน หลากลวน
                       วัฒนธรรม เลิศล้ำสามัคคี”
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48