Page 47 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               40







                             3) พื้นที่ปลูกยางพาราในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกยางพาราอยู มีเนื้อที่ 34,073 ไร พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาน้ำทวมซ้ำซาก ขาดน้ำ
                       ผลผลิตต่ำ ควรสงเสริมใหมีการโคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และหาพืชอื่นทดแทน เชน สงเสริม

                       ใหปลูกไมผล มะพราว ไผหวาน มันสำปะหลัง ยาสูบ แตงโม พืชไร และพืชผักทดแทน การจัดหา
                       ตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน และใหการชวยเหลือ

                       เกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตพืชผัก บริโภคในครัวเรือน
                       หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกยางพารา แตปจจุบันเกษตรกร
                       ไมไดใชพื้นที่ปลูกยางพารา พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ออยโรงงาน ขาวโพดเลี้ยงสัตว

                       มันสำปะหลัง เปนตน ควรเนนใหเกษตรกรปลูกพืชดังกลาวตอไป เนื่องจากปจจุบันตามมาตรการ
                       ยุทธศาสตรยางพารา เนนการลดพื้นที่การปลูกยางพาราอยูแลว ฉะนั้นควรสรางความตระหนักให
                       เกษตรกร เนนการทำการเกษตรแบบผสมผสาน หรือการเขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม หรือวนเกษตร

                       เพื่อทำใหเกษตรกรสามารถใชพื้นที่อยางคุมคามากที่สุดตอไป

                         4.3  มันสำปะหลัง
                             1) พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกมันสำปะหลังอยู

                       มีเนื้อที่ 942 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอำเภอเมืองจันทร อำเภอขุนหาญ และอำเภอหวยทับทัน
                       ตามลำดับ ทั้งนี้ตามมาตรการยุทธศาสตรมันสำปะหลัง 2564 - 2567เนนใหเกษตรกรเขาถึงพันธุ

                       มันสำปะหลังตานทานโรค CMD ใหเชื้อแปงสูงและมีผลผลิตเฉลี่ยตอไรไมต่ำกวา 5 ตัน ภายในป 2567
                       ทำใหเนนมีการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังในพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง และเนนการลดตนทุนผลผลิต โดย

                       สงเสริมการทำระบบน้ำหยดในพื้นที่ที่มีศักยภาพ การปรับปรุงบำรุงดิน การใสปุยที่ถูกตองและมี
                       ประสิทธิภาพ สงเสริมเกษตรกรแปรรูปมันสำปะหลังเบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา เชน การแปรรูปมันเสน

                       สะอาด สรางความรวมมือระหวางเกษตรกรและโรงงาน เพื่อวางแผนการขุดของเกษตรกร (ขายและ
                       คอยขุด) หาแนวทางแกไขปญหาโรคโคนเนาหัวเนาและโรคใบดางมันสำปะหลัง รวมถึงการสงเสริม
                       เขารวมโครงการเกษตรแปลงใหญ และสงเสริมใหเกษตรกรเปน Smart farmer

                                 2) พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2)  และปจจุบันยังปลูก
                       มันสำปะหลังอยู มีเนื้อที่ 15,181 ไร สวนใหญอยูในเขตอำเภอบึงบูรพ อำเภอภูสิงห อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ

                       และอำเภอกันทรลักษ เกษตรกรยังคงปลูกมันสำปะหลังไดผลดี ควรพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น
                       ในเรื่องของคุณภาพดินทำการตรวจวิเคราะหคุณภาพดินอยูเสมอ สงเสริมใหมีการใสปุยตามคา

                       วิเคราะหดิน สรางความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่ การปลูก การดูแลรักษา
                       การปองกันโรค แมลงศัตรูพืชและการเก็บเกี่ยว สงเสริมการใชทอนพันธุที่ตานทานโรคและใหผลผลิตสูง

                       และประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม
                             3) พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N)  และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกมันสำปะหลังอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาน้ำทวม ซ้ำซาก ขาดน้ำ ผลผลิตต่ำ
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52