Page 46 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               39







                       ไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร เพื่อที่วาในอนาคต
                       ยังสามารถกลับมาทำนาไดอีก
                             (3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน

                       ปลูกขาวอยู มีประมาณกวาลานไร ซึ่งประสบปญหาน้ำทวมซ้ำซาก ขาดน้ำ ผลผลิตต่ำ ควรใหการ
                       ชวยเหลือเกษตรกรที่ทำกินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม โดยสนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดิน

                       ปรับปรุงบำรุงดิน สนับสนุนแหลงน้ำ ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม และ
                       ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการ

                       พื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                             (4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมไดใช

                       พื้นที่ปลูกขาว โดยหันมาปลูกออยโรงงานแทน การปลูกเปนพืชไร หากในอนาคตขาวราคาดี
                       เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวไดเหมือนเดิม แตหากปลูกเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาว
                       อาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริมในเรื่องของการทำเกษตรรูปแบบอื่น เชน ทำการเกษตรแบบ

                       ผสมผสานทดแทน

                         4.2  ยางพารา
                               1) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู มีเนื้อที่

                       88,836 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอำเภอกันทรลักษ อำเภอขุนหาญ อำเภอศรีรัตนะ อำเภอเบญจลักษ
                       และอำเภอกันทรารมย ตามลำดับ ทั้งนี้ตามมาตรการยุทธศาสตรยางพาราระยะ 20 ป ( พ.ศ. 2560 - 2579)

                       เนนใหมีการเพิ่มผลผลิตยางพาราตอไรตอป จากปกติเฉลี่ยอยูที่ 224 กิโลกรัมตอไร เปน 360 กิโลกรัม
                       ตอไร ภายในป 2579 นั้น ควรมีการจัดการที่เหมาะสมในเรื่องตาง ๆ ไดแก การคัดเลือกพันธุให

                       เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และตานทานโรค การปรับปรุงบำรุงดิน การใสปุยที่ถูกตองและมี
                       ประสิทธิภาพ การปลูกพืชแซมและพืชคลุมดินใหเหมาะสมเพราะมีผลตอการเจริญเติบโตของ

                       ยางพารา การบำรุงรักษา การใสปุยการตัดแตงกิ่ง และเทคนิคการกรีดยางใหมีปริมาณน้ำยางสูงมี
                       คุณภาพและตรงตามมาตรฐาน การสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยางในพื้นที่มีความเขมแข็ง มีการ
                       บริหารงานแบบมืออาชีพและสามารถถายทอดกิจการใหกับคนรุนใหม และการพัฒนาการตลาดใน

                       พื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ

                             2)  พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู

                       มีเนื้อที่ 233,254 ไร สวนใหญอยูในเขตอำเภอกันทรลักษ อำเภออำเภอขุนหาญ และอำเภอภูสิงห
                       เกษตรกรยังคงปลูกยางพาราไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของดิน ควรสนับสนุนใหมีเพิ่ม

                       ผลผลิตยางพารา โดยเนนการจัดการที่เหมาะสมในเรื่องตาง ๆ เชนเดียวกันกับพื้นที่ความเหมาะสมสูง
                       โดยเฉพาะการปรับปรุงบำรุงดิน การพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูป
                       ผลิตภัณฑในพื้นที่ การเพิ่มเติมชองทางจัดจำหนาย โดยเนนการแปรรูปยาง หรือไมยางพาราเพิ่มมากขึ้น

                       ซึ่งอาจเนนจากชุมชนที่เขมแข็งเปนพื้นที่ตนแบบ และการสงเสริมใหมีการโคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต
                       25 ป และปลูกยางพาราทดแทนในพื้นที่เดิมเชนกันกับพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51