Page 44 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               37







                              3.3 ขาวหอมมะลิทุงกุลารองไห (GI) ทุงกุลารองไห เปนทุงใหญของภาคอีสานมีพื้นที่อยูในเขต
                       5 จังหวัด ไดแก จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดรอยเอ็ด จังหวัดยโสธร จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดสุรินทร
                       สำหรับจังหวัดศรีสะเกษ เขตพื้นที่ของทุงกุลารองไหอยูในอำเภอราษีไศลและอำเภอศิลาลาด พิจารณา
                       จากพื้นที่ในการสงเสริมการปลูกขาวหอมมะลิทุงกุลารองไห ในอำเภอราษีไศลและอำเภอศิลาลาดมี

                       พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ ควรสงเสริมในพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) ซึ่งยังมีพื้นที่ที่มีศักยภาพ คงเหลือ จำนวน
                       8,107 ไร และพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) ที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือ 30,875  แยกเปน อำเภอราษีไศล
                       28,101 ไร และอำเภอศิลาลาด 10,881 ไร
                              3.4 ไมผล (เงาะ มังคุด) พื้นที่จังหวัดศรีสะเกษถือเปนแผนดินทองแหงอีสานใต เนื่องจาก

                       สภาพดินที่อุดมสมบูรณ โดยเฉพาะเขตที่ราบลุมน้ำมูลและเขตที่ราบลุมตอนกลางที่เรียกวา ดงภูดินแดง
                       มีความอุดมสมบูรณสูงเหมาะสำหรับปลูกพืชเศรษฐกิจสำคัญ เปนรอยตอของอำเภอเบญจลักษณ
                       อำเภอน้ำเกลี้ยง อำเภอศรีรัตนะ อำเภอขุนหาญและอำเภอกันทรลักษ บริเวณดังกลาวจึงเปนพื้นที่
                       ปลูกพืชสำคัญไดผลดี เชน เงาะ มังคุด ลองกอง ที่ไดผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ โดยเฉพาะเงาะนับวาเปน

                       แหลงผลิตขนาดใหญ มีเงาะพันธุเงาะโรงเรียนที่เปนที่รูจักแพรหลาย ลักษณะเดน คือ ผิวเปลือกแหง
                       ไมฉ่ำน้ำจนเกินไป เนื้อเงาะมีรสหวาน พิจารณาจากพื้นที่ในการสงเสริมการปลูกเงาะ มีพื้นที่
                       ศักยภาพคงเหลือในพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 816,953 ไร ในสวนของมังคุด ศรีสะเกษ

                       เปนอีกทางเลือกหนึ่งของการปลูกไมผล ดวยสภาพพื้นที่อุดมสมบูรณ ดินมีแรธาตุสูง สภาพอากาศที่เปน
                       ภูเขาโอบลอม ทำใหมังคุดที่ปลูกไดคุณภาพดี รสชาติหวานอมเปรี้ยว พิจารณาจากพื้นที่ในการสงเสริม
                       การปลูกมังคุด มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) จำนวน 823,501 ไร

                             3.5 พืชสมุนไพร ดวยนโยบายของรัฐบาลที่ใหการสนับสนุนแนวคิด BCG (Bio Circular
                       Green Economy) หรือ เศรษฐกิจชีวภาพในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พืชสมุนไพรเปน

                       เรื่องหนึ่งที่ไดรับความสนใจ เนื่องจากเปนแหลงของสาระสำคัญที่นำไปใชประโยชนในดานตาง ๆ เชน
                       การแพทย ผลิตภัณฑเสริมอาหาร และเครื่องสำอาง จึงสนับสนุนใหพืชสมุนไพรเปนพืชทางเลือก
                       ในป 2564 โดยดำเนินการภายใตตลาดนำการผลิต และหากทิศทางของตลาดสมุนไพรขยายตัวเพิ่ม
                       มากขึ้นจะชวยใหเกษตรกรผูปลูกพืชสมุนไพร มีรายไดและความมั่นคงในการดํารงชีพจาก

                       ฐานขอมูล Agri-Map Online จังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นที่ศักยภาพที่สามารถสงเสริมใหปลูกพืชสมุนไพรได
                       หลายชนิด ไดแก กระชายดำ ขมิ้นชัน บัวบก และไพล

                                 กระชายดำ เปนไมลมลุกมีอายุหลายป  มีเหงาอยูใตดินเจริญเติบโตและลงหัวไดดีใน
                       ดินรวนปนทราย มีการระบายน้ำดีไมชอบน้ำขัง ไมชอบแดดจัด ชอบแดดรมรำไร เกษตรกรจึงนิยม
                       ปลูกกระชายดำระหวางแถวไมยืนตน อายุเก็บเกี่ยวของกระชายดำ ประมาณ 8 - 9 เดือน 1 ไร

                       จะไดผลผลิต ประมาณ 1,000-2,000 กิโลกรัม โดยพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นที่ศักยภาพในการปลูก
                       กระชายดำที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 219,552 ไร กระจายอยูในอำเภอกันทรลักษ
                       อำเภอขุนหาญ และอำเภอกันทรารมย
                                     ขมิ้นชันเปนพืชปลูกงาย ชอบแสงแดดจัด และมีความชื้นสูง ชอบดินรวนซุย  มีการ

                       ระบายน้ำดี ไมชอบน้ำขัง เกษตรกรสามารถปลูกขมิ้นชันแซมในสวนเปนการใชพื้นที่ใหเกิดประโยชน
                       และมีรายไดระหวางรอการเติบโตของยางพาราหรือปาลมน้ำมัน โดยพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นที่
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49