Page 45 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               38







                       ศักยภาพในการปลูกขมิ้นชันที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 263,787 ไร ไร กระจายอยูใน
                       อำเภอกันทรลักษ อำเภอขุนหาญ และอำเภอกันทรารมย
                                     บัวบกขยายพันธุไดโดยใชเมล็ด และใชลำตนหรือที่เรียกวาไหล บัวบกสามารถขึ้นไดดี
                       ทั้งในที่รม และที่โลงแจง แตจะเจริญเติบโตไดดีในดินที่มีความอุดมสมบูรณและมีความชื้นในดิน

                       พอเหมาะ ในกรณีที่ตองการปรับปรุงดินควรใสปุยอินทรียหรือปุยคอก ดูแลงาย สามารถปลูกแซม
                       ระหวางแปลงพืชหลักได โดยพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ มีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกบัวบกที่ระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 24,455 ไร กระจายอยูในอำเภอกันทรลักษ อำเภอโนนคูณ และ
                       อำเภอราษีไศล

                                     ไพล เจริญไดดีในดินรวนซุย ปลูกงาย ดูแลงาย สามารถปลูกแซมระหวางแปลง
                       พืชหลักได โดยพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ ไมมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกขมิ้นชันที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1)
                       แตในพื้นที่ระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ประมาณ 185,972 ไร กระจายอยูในอำเภอราษีไศล
                       อำเภอปรางคกู และอำเภอน้ำเกลี้ยง


                       4  แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                         4.1  ขาว
                             1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 239,749 ไร

                       อยูในเขตอำเภอราษีไศล อำเภอขุขันธ อำเภอภูสิงห อำเภอกันทรลักษ อำเภอกันทรารมย อำเภอศรีรัตนะ
                       และอำเภอขุนหาญ พื้นที่ดังกลาว ตั้งอยูในเขตชลประทาน ทั้งนี้คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัด
                       เสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนพื้นที่เปนแหลงผลิตขาวที่สำคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ำ

                       ชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว มีการรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจร
                       ดานการตลาดในและตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทำมาตรฐานสินคา

                       เกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practice: GAP) และเนื่องจาก
                       เปนพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนาจะชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุง

                       บำรุงดิน ทั้งนี้ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนำวาพื้นที่นี้เปนพื้นที่ที่มีความ
                       เหมาะสมตอการปลูกขาวจึงไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีถาตองการเปลี่ยน

                       ชนิดพืชควรเปนพืชไร เพื่อที่วาในอนาคตจะไดกลับมาทำนาไดอีก
                             2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่มากถึง
                       1,754,231 ไร สวนใหญอยูในเขตอำเภอขุขันธ อำเภอราษีไศล อำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภออุทุมพรพิสัย

                       อำเภอวังหิน อำเภอปรางคกู อำเภอกันทรารมย อำเภอกันทรลักษ อำเภอโนนคูณ อำเภอพยุห อำเภอ
                       ไพรบึง พื้นที่ดังกลาวเปนพื้นที่ปลูกขาวที่มีขอจำกัดไมมากนัก เกษตรกรยังคงปลูกขาวไดผลดีหลายแหง

                       ประสบปญหาขาดน้ำในบางชวงของการเพาะปลูก ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ำ เชน
                       ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทำงานที่อื่นจะ

                       ลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสำหรับการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยำหรือเกษตร
                       ทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนำวาไมควรปรับเปลี่ยน
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50